Kategóriák: Minden - สารสนเทศ - สืบค้น - เนื้อหา - อ้างอิง

a ศิขรินธาร ขันคํา 4 éve

375

การเขียนรายงานวิชาการ

การทำรายงานวิชาการเกี่ยวข้องกับการประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ และเรียบเรียงข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ โดยเริ่มจากการกำหนดชื่อเรื่องและหัวข้อที่ต้องการศึกษาก่อน หลังจากนั้นจึงค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องผ่านระบบสืบค้นและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือช่วย เมื่อได้ข้อมูลที่เพียงพอและเหมาะสมแล้วจึงนำมาวางโครงร่างของเนื้อหา เขียนเค้าโครงรายงาน อ่านและจดบันทึกเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหา จากนั้นนำข้อมูลที่สืบค้นได้มาเรียบเรียงและเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ ทั้งนี้การเขียนรายงานจะต้องมีการอ้างอิงและบรรณานุกรมซึ่งจัดทำให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ส่วนประกอบสำคัญของรายงานประกอบด้วย หน้าปก คำนำ เนื้อหา และบรรณานุกรม โดยคำนำจะกล่าวถึงการขอบคุณผู้ที่ให้การสนับสนุนและกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการทำรายงาน เนื้อหาจะต้องมีโครงสร้างการนำเสนอที่ชัดเจนและเป็นระบบ และส่วนบรรณานุกรมจะต้องเรียงเอกสารอ้างอิงตามตัวอักษร การตรวจสอบคำผิดและความถูกต้องของข้อมูลเป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนส่งรายงาน

การเขียนรายงานวิชาการ

การเขียนรายงานวิชาการ

Conflict is present everywhere in the world around us. We experience conflict on a daily basis, and it can be minor or major.

Conflict in a story is a struggle between opposing forces. Characters must act to confront those forces and there is where conflict is born. If there is nothing to overcome, there is no story. Conflict in a story creates and drives the plot forward.

ส่วนประกอบของรายงาน

ปกหลัก
ใบรองปกหลัง
ภาคผนวก (Appendix)
ไม่จำเป็นต้องมีในรายงานทุกฉบับ ส่วนใหญ่จะแนบ ตัวอย่างต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายงานนั้น เช่น - ตัวอย่างแบบฝึกหัด - ตัวอย่างแบบสอบถาม/แบบสำรวจ/แบบสัมภาษณ์หรือแบบฟอร์มต่างๆ เป็นต้น - code หรือขั้นตอนในการทำ project
บรรณารุกรม (bibliography/reference)
เรียงตามตัวอักษร ก-ฮ หรือ A-Z (ภาษาไทยจะเรียงก่อนภาษาอังกฤษ)
รายชื่อเอกสารดังกล่าวอาจมาจาก - บทความ (Article) - หนังสือ (books) - ฐานข้อมูล (Databases) - Internet - - - -- - -- ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
เป็นรายชื่อเอกสารที่นำมาเขียนรายงานทั้งหมด
เนื้อหา (Content)
ตรวจสอบคำผิด / ขนาดตัวอักษร /รูปแบบตัวอักษร
แบ่งย่อหน้าให้เหมาะสม
การขึ้นหัวข้อใหม่ควรทำให้ชัดเจน แต่ต่างจากหัวข้อย่อยอื่น ๆ
แต่ละบทควรมีโครงเรื่องและโดยการลำดับหัวข้อที่ชัดเจน
*ข้อสังเกตุ หน้าแรกของทุกบทจะไม่ปรากฏเลขหน้า
บทสรุปในแต่ละหัวข้อ
เรื่องที่นำมาประยุกต์ใช้
โครงสร้าง/การทำงาน
องค์ประกอบ/ส่วนประกอบ
ประวัติความเป็นมาหรือภูมิหลัง
ความหมายหรือนิยาม
สารบัญ (Table of Content)
สารบัญตาราง

- ทำเช่นเดียวกับสารบัญภาพ

สารบัญภาพ

- บอกภาพทุกภาพที่ปรากฏในรายงานว่าอยู่หน้าไหนบ้าง - จะนับภาพแรกต่อเนื่องจนถึงภาพสุดท้ายในรายงานนั้น

สารเนื้อหา

- นับตั้งแต่หน้าแรกของเนื้อหา - มีหัวข้อหลักๆ/ที่สำคัญๆ ของแต่ละบทปรากฎด้วย

คำนำ (Preface)
กิตติกรรมประกาศ (acknowledgement)

- เป็นหน้าที่ใช้กล่าวขอบคุณผู้ที่ให้การสนับสนุน ผู้ที่ให้ข้อมูลต่างๆ ตลอดจนผู้ที่เป็นกำลังใจ ในการทำรายงานชิ้นนั้น ๆ - ส่วนใหญ่พบในรายงาน การวิจัย/วิทยานิพนธ์

ในตอนท้ายจะลงชื่อผู้จัดทำ และวันที่ ที่เขียนคำนำ
ส่วนใหญ่มี 2 ย่อหน้า (ย่อหน้าที่2 จะกล่าวความคาดหวังในการทำรายงาน)
อาจจะบอกเนื้อหา(เป็นตอน/บท)อย่างคร่าวๆ
บอกขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการจัดทำ
ใบรองปกใน
ใบรองปกนอก
หน้าปก (Cover)
ปีการศึกษาที่ทำ
ชื่อสถาบันการศึกษา
ชื่อสำนักวิชา
ชื่อวิชา
ชื่อของรายงาน
ชื่อ-นามสกุล และเลขรหัส

ขั้นตอนการทำรายงาน

เรียบเรียงและนำเสนอรายงาน
ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ
สืบค้นสารสนเทศในระบบมือ / ใช้ IT เป็นเครื่องมือ
เลือกแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ
คิดคำสำคัญ/คำค้น
วางโครงร่างของเนื้อหา
กำหนดชื่อเรื่อง

ประเภทของรายงาน

- ศึกษาค้นคว้าและนำมาเรียบเรียงอย่างมีระเบียบ - ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อเสริมเนื้อหาที่เรียนในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งในแต่ละภาคการศึกษา - ผู้ทำรายงานอาจเลือกหัวข้อที่สนใจเองหรือผู้สอนเป็นผู้กำหนดให้ - ทำเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคล
รายงานการวิจัย (Research)
ประโยชน์ของกาทำรายงาน

1.ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ ๆ 2.ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ 3.ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง 4.ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา 5.เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์งานวิชาการอื่น ๆ ต่อไป

วิทยานิพนธ์(Thesis/Dissertation) - เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์นักวิชาการ นักวิจัย เป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะเดียวกับการทำวิทยานิพนธ์
ภาคนิพนธ์(Term paper) - เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา
ปริญญาดุษฎี บัณฑิต (Dissertation)
ปริญญา มหาบัณฑิต (Thesis)
รายงานวิชาการ (Reports) - มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน - มีรายละเอียดลึกซึ้งมากกว่า - ใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา

ความหมาย

สิ่งพิมพ์ที่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีระบบระเบียบจากการศึกษาค้นคว้า การทดลอง การสังเกตการณ์ การสำรวจ การสัมภาษณ์ เป็นต้น อาจจะเขียนขึ้นเพื่อการศึกษาค้นคว้า สำหรับวิชาใดวิชานึ่ง

ขั้นตอนการเขียนรายงาน

การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์
การเขียนรายการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเรียบเรียงรายงาน
จัดทำโครงเรื่องครั้งสุดท้าย
การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ
อ่านและจดบันทึก
รวบรวมบรรณานุกรม
จัดทำเค้าโครงรายงาน
อ่านข้อมูลของเนื้อหาเพื่อเป็นพื้นฐานความรู้ + กำหนดวัตถุประสงค์
เลือกและกำหนดหัวข้อการทำรายงาน