Categorie: Tutti - ความสัมพันธ์ - การวิจัย - ตัวแปร

da Roman Wannaborworn mancano 5 anni

362

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (พื้นฐานการวิจัย)

การวิจัยเป็นกระบวนการที่สำคัญในการแสวงหาความรู้และความเข้าใจในปรากฏการณ์ต่างๆ โดยสามารถจำแนกออกเป็นหลายประเภทตามลักษณะและวัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิจัยแบบทดลองสามารถแบ่งออกเป็นการวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น การวิจัยกึ่งทดลอง และการวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง นอกจากนี้ยังมีการวิจัยที่มุ่งเน้นการค้นหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และการวิจัยที่มุ่งบรรยายคุณลักษณะของตัวแปรในประชากร การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเหตุการณ์ในอดีต การวิจัยเชิงบรรยายและการศึกษาความสัมพันธ์มุ่งเน้นการบรรยายความสัมพันธ์และคุณลักษณะของตัวแปร การวิจัยเชิงสำรวจมีจุดมุ่งหมายเพื่อบรรยายปรากฏการณ์หรือคุณลักษณะที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ส่วนการศึกษาพัฒนาการและการศึกษาความเจริญงอกงามมุ่งเน้นการบรรยายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลา นอกจากนี้ยังมีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ในสาขาวิทยาศาสตร์

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (พื้นฐานการวิจัย)

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (พื้นฐานการวิจัย)

จรรยาบรรณของนักวิจัย

ความหมาย
หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ที่กลุ่มบุคคลแต่ละสาขาวิชาชีพประมวลขึ้นไว้เป็นหลักเพื่อให้สมาชิกในสาขาวิชาชีพนั้น ๆ

นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ นักวิจัยพึงมีจิตสำนึกที่จะอุทิศ กำลังสติปัญญาในการทำวิจัยเพื่อความก้าวหน้าทางวิชาการ

นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น นักวิจัยพึงมีใจกว้าง พร้อมที่จะเปิดเผยข้อมูลและขั้นตอนการวิจัย

นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ นักวิจัยพึงเผยแพร่ผลงานวิจัย เพื่อประโยชน์ทางวิชาการและสังคม

นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทำวิจัย นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด

นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย นักวิจัยต้องไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาการ จนละเลยและขาดความเคารพในศักดิ์ศรีของเพื่อนมนุษย์

นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต

นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัยอย่างเพียงพอ และมีความรู้ความชำนาญ หรือมีประสบการณ์เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ทำวิจัย

นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย ตามข้อตกลงที่ทำไว้กับหน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัย และต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด

นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ นักวิจัยต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น

ประเภทของการวิจัย

ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดกระทำ
การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง(True Experimental Research) เป็นการวิจัย ที่ใช้ตรวจสอบความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร
การวิจัยกึ่งทดลอง(Quasi Experimental Research) เป็นการวิจัยที่ไม่สามารถดำเนินการในกระบวนการวิจัยได้อย่างครบถ้วน
การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น(Pre Experimental Research) เป็นการวิจัยที่ศึกษาปรากฏการณ์ที่เป็นธรรมชาติ โดยไม่ได้มีการจัดกระทำสิ่งทดลองให้ในการทดลอง
จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย
การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร(Causal-Oriented Research) เป็นการวิจัยที่แสวงหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปรากฏการณ์ต่าง ๆ
การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร(Correlation-Oriented Research) เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า
การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร(Descriptive-Oriented Research) เป็นการวิจัยที่มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อบรรยายลักษณะของตัวแปรในประชากร
จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย
การวิจัยแบบต่อเนื่อง (Longitudinal Research) เป็นการวิจัยที่ใช้เวลาอย่างต่อเนื่องในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทำให้ได้ผลสรุปของข้อมูลที่ชัดเจน ละเอียด
การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น(Cross-section Research) เป็นการวิจัยที่ใช้เวลาในการวิจัยช่วงใดช่วงหนึ่งที่ผู้วิจัยสนใจแล้วนำมาสรุปผล ข้อดี คือ ประหยัดค่าใช้จ่าย แต่อาจจะไม่เห็น กระบวนการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์
การวิจัยทางสังคมศาสตร์(Social Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ ขนบธรรมเนียมประเพณี
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์(Scientific Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ที่มักจะเกิดขึ้นตามธรรมชาติที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology)
การวิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้บรรยายคุณลักษณะ

การศึกษาพัฒนาการ(Developmental Studies) เป็นการวิจัยที่มี วัตถุประสงค์เพื่อใช้บรรยายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อระยะเวลาผ่านไป

การศึกษาแนวโน้ม(Trend Studies)

การศึกษาความเจริญงอกงาม(Growth Studies)

การศึกษาความสัมพันธ์ (Interrelationship Studies) เป็นการวิจัยที่ มี วัตถุประสงค์เพื่อใช้บรรยายความสัมพันธ์ของคุณลักษณะ

การวิจัยเชิงสำรวจ(Survey Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ บรรยายคุณลักษณะหรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร

การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์(Historical Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ ใช้ข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีหลักฐานปรากฏอยู่
จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล
การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) เป็นการวิจัยที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวแปรที่มีลักษณะเป็นข้อความที่บรรยายลักษณะ เหตุการณ์
การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) เป็นการวิจัยที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวแปรที่มีลักษณะเป็นตัวเลข
จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย
การวิจัยการนำไปใช้(Applied Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ใน การนำผลการวิจัยจากการวิจัยพื้นฐานมาใช้ประโยชน์ต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์ได้ในปัจจุบัน ตัดสินใจ หรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์(Basic Research or Pure Research) เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหาความรู้ความจริงเชิงทฤษฎี/ปรากฏการณ์

คุณลักษณะของการวิจัย

สรุป เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความจริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจน และมีการกำหนดจุดมุ่งหมายของการ วิจัย
มีการจดบันทึกข้อมูล และจัดทำรายงานการวิจัยด้วยความระมัดระวัง ในการใช้คำที่มีความหมาย
เป็นกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการด้วยความอดทน ไม่เร่งรีบ และจะต้อง ยอมรับ/เผชิญอุปสรรคในวิธีการได้มาของคำตอบในการวิจัย
ต้องเป็นการดำเนินการแสวงหาคำตอบที่นำมาใช้ตอบคำถามของปัญหาที่ ยัง ไม่สามารถแก้ไขได้
ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถ ทดสอบได้และวิธีการที่เหมาะสม
จะต้องเป็นการดำเนินการโดยใช้ความรู้ความชำนาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้ ปัญหาที่ตนเองจะทำวิจัย
ต้องมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย และการวิเคราะห์ที่ถูกต้อง ชัดเจน ที่ จะทำให้ได้ข้อสรุปการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วใน การตอบคำถามตามจุดประสงค์ใหม่ ไม่ใช่เป็นการจัดระบบใหม่ (Reorganizing)
จำเป็นจะต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน
แนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จากการสังเกต หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical)
เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้อ้างอิงหรือ คาดการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ(Probabilistic Law of Nature) กล่าวว่า ในปรากฏการณ์ใดๆนั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง
กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ(Principle Component of Nature) กล่าวว่า ตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปรอื่นๆ ที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ ๆ
กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ(Associative Law of Nature) กล่าวว่า การเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกันนั้น จะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและตัวแปรผลที่แตกต่างกัน
กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ(Systematic Law of Nature) กล่าวว่า ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน เพื่อที่ผู้วิจัยจะได้น ารูปแบบ ดังกล่าวไปใช้อธิบายในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นโดยทั่ว ๆ ไปได้
กฎเหตุและผลของธรรมชาติ(Deterministic Law of Nature) กล่าวว่า ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ หรือ เมื่อกำหนดสถานการณ์ใด ๆ ที่เป็นสาเหตุย่อมจะหาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้เช่นเดียวกัน

ลักษณะของสมมติฐานที่ดี

มีอำนาจในการพยากรณ์
มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป
สามารถตรวจสอบได้ มีข้อมูลหรือหลักฐานที่จะนามาสนับสนุน
เขียนด้วยถ้อยคำที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจนภายในตัวของมันเอง
ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้ที่ได้จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง
ตอบคำถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว
อธิบายหรือตอบคำถามได้ ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย จุดมุ่งหมายต้องการศึกษาอะไร

แหล่งที่มาของสมมติฐาน

การสังเกตพฤติกรรม สังเกตความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ
การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่น ๆ
ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย ที่ได้ทำงานคลุกคลีกับเรื่องนั้นมาก่อน
การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทำให้ได้รู้ทฤษฎีและผลวิจัยในประเด็นต่างๆ

ประเภทของสมมติฐาน

สมมติฐานทางวิจัย (research hypothesis)
สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional hypothesis)
สมมติฐานแบบมีทิศทาง (directional hypothesis)

การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

สมมติฐาน
ลักษณะของสมมติฐาน

สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติตัวอย่างสมมติฐาน

เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป

การนิยามตัวแปร
นิยามในลักษณะปฏิบัติการ (Operational definition)
การนิยามในลักษณะของการบอกองค์ประกอบ (Constitutive definition)
การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
อาศัยทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ตัวแปรและสมมติฐาน

ลักษณะและชนิดของตัวแปร
ตัวแปรนามธรรม (Construct) หมายถึงตัวแปรที่แสดงความหมายในลักษณะ เฉพาะตัวบุคคล
ตัวแปรรูปธรรม (Concept) หมายถึงตัวแปรที่แสดงความหมายในลักษณะ
ความหมายของตัวแปร
ตัวแปร (variables) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่ ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได

การจัดกระทำข้อมูล

การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน
ผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
วิธีการดำเนินการวิจัย
การตรวจสอบเอกสาร
บทนำ
Output เป็นขั้นตอนที่นำผลจากการขั้นตอนที่ได้จากขั้น Processing
Processing เป็นขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล
Input เป็นการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์

ขั้นตอนในการวิจัย

ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
การเขียนเค้าโครงการวิจัย
การกำหนดสมมุติฐาน
การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาสาระความรู้ แนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นในตำรา หนังสือ
ได้แนวทางการแปลผลการวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัย
ได้แนวทางในการใช้ค่าสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แนวทางในการสุ่มตัวอย่าง
ได้แนวทางในการสร้างเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูล
ได้แนวทางในการกำหนดสมมุติฐาน (กรณีที่มีสมมุติฐาน)
ช่วยให้กำหนดขอบเขตของการทำวิจัยได้ถูกต้องชัดเจน (กรอบแนวคิด)
ช่วยให้ไม่เกิดการซ้ำซ้อนในการวิจัย
การกำหนดขอบเขตของปัญหา
มองเห็นภาพอย่างแจ่มชัดว่าจะต้องทำอะไรบ้าง
รู้ถึงเทคนิคต่างๆ ที่เหมาะสมในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
วางแผนรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสม
เลือกหัวข้อปัญหา

ธรรมชาติของการวิจัย

การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย หมายถึง การวิจัยที่มีประสิทธิภาพจะต้องดำเนินการ โดยที่ผู้วิจัยที่มีความรู้ความสามารถ
การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย หมายถึง การวิจัยจะมีวิธีการในการดำเนินการวิจัยที่ให้ผู้วิจัยได้เลือกใช้อย่างหลายหลายวิธีการ
การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ หมายถึง การวิจัยในแต่ละครั้งจะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น
การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการที่จะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา(ตัวแปรตาม) กับวิธีการแก้ปัญหา(ตัวแปรต้น)
การวิจัยมีเหตุผล หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่จะต้องมีเหตุผลที่ชัดเจนในการ ดำเนินการทุกขั้นตอนเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้อง
การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึง การวิจัยต้องมีความคงเส้นคงความในการดำเนินการวิจัย
การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง การวิจัยใดๆ จำเป็นต้องมีความเที่ยงตรง
ความเที่ยงตรงภายนอก : ที่จะสามารถนำผลการวิจัยที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ที่มีความคล้ายคลึงกันได้อย่างครอบคลุม
ความเที่ยงตรงภายใน : ที่สามารถระบุได้ว่าผลการวิจัยที่ได้เกิดจากตัวแปรที่ศึกษาเท่านั้น
การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการที่มีจุดมุ่งหมาย
ควบคุม
พยากรณ์
อธิบาย
บรรยาย
การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการตามขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์
การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ หมายถึง การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาคำตอบที่ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล โดยที่ปัญหาในบางปัญหาไม่สามารถท าการวิจัยได้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได
การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หรือเป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อที่นำผลสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากร
เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาคำตอบ เพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีความเป็นเหตุและเป็นผลซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน

ความหมายของการวิจัย

กระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจาก อคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนำมาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง เพื่อนำไปใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏี หรือนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยำและเชื่อถือได