Categorie: Tutti - สถิติ - ประเภท - การวิเคราะห์ - ตัวแปร

da krittika pankong mancano 5 anni

244

สถิพื้นฐานทางการวิจัย

สถิติเป็นเครื่องมือสำคัญในการวิจัย ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทหลักคือ inferential statistics และ descriptive statistics โดย inferential statistics นำข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างมาใช้สรุปไปยังประชากร ส่วน descriptive statistics มุ่งเน้นการพรรณนาและอธิบายข้อมูลผ่านตารางและกราฟ ตัวแปรในงานวิจัยแบ่งเป็นตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ และตัวแปรควบคุม ซึ่งแต่ละประเภทมีบทบาทที่แตกต่างกัน การใช้สถิติเพื่อการวิจัยมีวัตถุประสงค์หลายประการ เช่น การประมาณค่า การพยากรณ์ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และการศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์สถิติมีหลายประเภท เช่น อัตราส่วน อันตรภาค นามบัญญัติ และเรียงอันดับ ซึ่งแต่ละประเภทมีวิธีการวิเคราะห์และการใช้งานที่แตกต่างกัน ในการใช้สถิติให้ได้ผลดี ควรรู้หลักการเบื้องต้น สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปร และมีความสามารถในการตีความและแปลผลข้อมูลได้อย่างถูกต้อง

สถิพื้นฐานทางการวิจัย

สถิพื้นฐานทางการวิจัย

หลักการเบื้องต้นการใช้สถิติ

ตีความหมาย
แปลผลค่าสถิติต่างๆได้ถูกต้อง
เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการ
หลีกเลี่ยงการเสนอซ้ำซาก

วัตถุประสงค์การใช้งานสถิติ

-ศึกษาการประมาณค่าหรือการพยากรณ์
-ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
-ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆที่เป็นเป้าหมายทางการศึกษา
-พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา

ประเภทของข้อมูล

อัตราส่วน
ข้อมูลนี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว
เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถ บวก ลบ คูณ หารได้
อันตรภาค
ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน
เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน
เรียงอันดับ
เช่น ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
ใช้จัดอันดับสิ่งของต่างๆโดยเรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์จากสูงสุดไปต่ำสุด
นามบัญญัติ
ใช้สถิติง่ายๆในการคำนวณ คือ ความถี่ ร้อยละ
เป้นอันดับการวัดที่หยาบที่สุด

ตัวแปร

ตัวแปรควบคุม
ตัวแปรที่ส่งผลต่อการทดลอง
ตัวแปรตาม
ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น
ตัวแปรอิสระ
ตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน ดูผลที่ตามมา

ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

รู้การนำเสนอ การอ่าน การตีความ
รู้หลักการเบื้องต้น
สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรได้

ประเภทของสถิติ

inferential statistics
วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร
desriptive statistics
เกี่ยวกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูล

คำจำกัดความ

ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จาการเก็บรวบรวม
คำว่าสถิติมาจากภาาาเยอรมัน หมายถึง สารสนเทศที่อำนวยประโยชน์น์ต่อการบิหารประเทศชาติ