Categorie: Tutti

da จิรวัฒน์ พิบูลย์ mancano 3 anni

3223

ลักษณะเด่นของภาษาไทย

ภาษาไทยมีความซับซ้อนและเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ทำให้แตกต่างจากภาษาอื่น โดยมีการแบ่งวรรคตอนและเว้นจังหวะในการพูดเพื่อความชัดเจนและความหมายที่ถูกต้อง การสะกดคำในภาษาไทยถูกกำหนดโดยมาตราตัวสะกดทั้ง 8 มาตรา ซึ่งแต่ละมาตราจะมีเสียงการอ่านที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังมีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศและการสร้างคำใหม่ผ่านกระบวนการสมาส-สนธิ ซ้ำคำ และซ้อนคำ ในภาษาไทยยังมีระบบลักษณะนามที่ใช้ในการบ่งบอกลักษณะของนามและการนับจำนวนที่เฉพาะเจาะจง เสียงวรรณยุกต์ทำให้ภาษาไทยมีระดับเสียงที่หลากหลายและไพเราะคล้ายเสียงดนตรี คำในภาษาไทยมักเป็นคำโดดที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเองโดยไม่ต้องเปลี่ยนรูป และคำไทยแท้มักมีเพียงพยางค์เดียวแต่สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน

ลักษณะเด่นของภาษาไทย

ลักษณะเด่นของภาษาไทย

Adverbs are words or expressions that modify a verb, adjective, another adverb, determiner, clause, preposition, or sentence. Adverbs typically express manner, place, time, frequency, degree, level of certainty, etc.

มีลักษณะนาม

Compares three or more things or people, usually is compounded of the words 'the most' plus adverb.

ข. คำลักษณะนามตามหลังคำนามเพื่อลักษณะของนามนั้น เช่น ปลาตัวใหญ่นี้แพงมาก, ที่ดินแปลงนี้สวยจริง ๆ ,เทียนเล่มแดงหายไปไหน
ก. คำลักษณะนามจะอยู่ข้างหลังคำวิเศษณ์บอกจำนวนนับ เช่น ฉันรักแมวทั้ง 10 ตัว เข้าได้รับบ้าน 1 หลัง ที่ดิน 2 แปลงเป็นมรดก *ถ้าใช้คำว่า "เดียว" เป็นจำนวนนับ คำลักษณะนามจะอยู่หน้าคำว่าเดียว เช่น ขวดเดียวก็เกินพอ

การสร้างคำ

Answers the question:

มีการยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้และมีการสร้างคำใหม่
การสมาส-สนธิ
ซ้อนคำ
ซ้ำคำ

เสียงวรรณยุกต์

Answers the question:

ทำให้ระดับเสียงต่างกัน มีคำใช้กันมากขึ้น เกิดความไพเราะดังเสียง ดนตรีและสามารถเลียนเสียงธรรมชาติได้อย่างไกล้เคียง
1.เสียงสามัญ อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-กลาง เช่น กา คาง 2. เสียงเอก อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ำ-ต่ำ เช่น ก่า ข่า ปาก หมึก 3. เสียงโท อยู่ในระดับเสียงสูง-ต่ำ เช่น ก้า ข้า มาก 4. เสียงตรี อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-สูง เช่น ก๊า ค้า ชัก 5. เสียงจัตวา อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ำ-ต่ำ-กึ่งสูง เช่น ก๋า ขา

คำไทยแท้ มีพยางค์เดียว

Answers the question:

เป็นคำที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัว เข้าใจได้ทันที

ภาษาไทยมีคำเลือกใช้ตามกาลเทศะ

การเลือกใช้คำให้ถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล และ ให้เหมาะสมกับอายุ
๕.ภาษาระดับกันเอง
๔.การใช้ภาษาระดับไม่เป็นทางการ
๓.ภาษาระดับกึ่งทางการ
๒.ภาษาระดับทางการ
๑.ภาษาระดับพิธีการ

ภาษาไทยมีการแบ่งวรรคตอนเป็นจังหวะ

Compares two things or people, usually is compounded of the word 'more' plus adverb.

ส่วนการพูดภาษาไทยก็จำเป็นต้องเว้นจังหวะให้ถูกต้อง เพื่อความชัดเจนของข้อความ

การเรียงคำในประโยค

Answers the question:

ภาษาไทยเรียงเป็นประโยคแบบ ประธาน + กริยา + กรรม

สะกดตามมาตราตัวสะกดทั้ง 8 มาตรา

Answers the question:

มาตราแม่ เกอว
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่เกอว คือ อ่านออกเสียง ว
มาตราแม่ เกย
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่เกย คือ อ่านออกเสียง ย
มาตราแม่ กม
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กม คือ อ่านออกเสียง ม
มาตราแม่ กน
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่กน คือ อ่านออกเสียง น
มาตราแม่ กง
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กง คือ อ่านอย่างเสียง ง
มาตราแม่ กบ
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่กบ คือ อ่านออกเสียง บ
มาตราแม่ กด
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่กด คือ อ่านออกเสียง ด
มาตราแม่ กก
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่กก คือ อ่านออกเสียง ก

Write phrases as examples.

เป็นคำโดด

Answers the question:

มีคำใช้โดยอิสระ ไม่ต้องเปลี่ยนรูป