Categorie: Tutti

da moow dow mancano 3 anni

4389

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย

กฎหมายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญในการปกครองประเทศและกำหนดความประพฤติของบุคคลในสังคม โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภทตามลักษณะและบทบัญญัติที่ครอบคลุม ทั้งนี้ กฎหมายมหาชนเกี่ยวข้องกับการปกครองและการคลังในประเทศ ในขณะที่กฎหมายเอกชนเน้นเรื่องสิทธิและหน้าที่ของบุคคล นอกจากนี้ยังมีกฎหมายรัฐธรรมนูญที่เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน และต้องสามารถบังคับใช้ได้จริงโดยเจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งนี้กฎหมายยังสามารถแบ่งตามลักษณะของเนื้อหาหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องได้อีกด้วย โดยกฎหมายลายลักษณ์อักษร เช่น พระราชบัญญัติและพระราชกำหนด ต้องผ่านกระบวนการออกโดยรัฐสภาหรือคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้การวัดแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลางและการกระจายของข้อมูลยังสามารถถูกนำมาใช้ในการศึกษากฎหมายเพื่อให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์และแนวโน้มทางกฎหมายในสังคม

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย

ศักดิืหรือลำดับชั้นของกฏหมาย

6 ข้อบัญญัติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5 กฏกระทรวง
4 พระราชกฤษฏีกา
3 พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด
2 พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนุญ
1 รัฐธรมมนูญ

กฏหมายมหาชน

กฏหมายการคลังและภาษีอากร
กฏหมายการปกครอง
กฏหมานรัฐธรรมนูญ

กฏหมายเอกชน

กฏหมายอาญา
กฏหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กฏหมายสังคม

กฏหมายลายลักษณ์อักษร

กฏหมายที่ตราโดยกรมปกครองส่วนท้องถิ่น
เพื่อใช้บังคับในท้องถิ่นของตน
กระทรวง
รัฐมนตรีผู้รักษาตามกฏหมายแม่บท
พระราชกฤษฏีกา
กษัติร์ตราขึ้นโดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี
พระราชกำหนด (พ.ร.ก.)
ต้องมีความจำเป้น
กษัติร์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและความยินยอมของรัฐมนตรี
พระราชบัญญัติ พ.ร.บ
กษัตริย์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและความยินยอมต่อรํฐสภา
พ.ร.บ ประกอบรัฐธรรมนูญ
ขยายบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ
ไม่มีกฏหมายใดขัดแย้งได้
กฏหมายที่ใช้ปกครองประเทศ ประชาชนมีส่วนร่วมในการร่าง

กฏหมายระหว่างประเทศ

เป็นกฏหมายที่มีหลายประเทสเข้ามาเกี่ยวข้อง
แผนกคดีอาญา
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีเมือง

Subtopic

กฏหมายในประเทศ

ใช้กับคนในประเทศ

กฏหมายวิธีสบัญญัติ

กฏหมยที่บัญญัติถึงกระบวนการในการยุติข้อพิพาก

กฏหมายสารบัญญัติ

กฏหมายที่บัญญัติถึงเนื้อหา วิทธิ หน้าที่ ข้อห้าม หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นกฏหมายที่ควบคุมความประพฤติของบุคคลโดยตรง

กฏหมายคืออะไร

กฏหมายต้องมีกระบวนการที่แน่นอน
กฏหมายต้องมีสภาพบังคับ อาจเป็นผลร้าย และ อาจเป็นผลดี
กฏหมายต้องกำหนดความประพฤติของบุคคล
กฏหมายต้องมีลักษระเป็นกฏเกณฑ์
เป็นสภาพบังคับโดยเจ้าหน้าที่ระบบกฏหมาย
กฏเกณฑ์ที่กำหนดความประพฤติของบุคคล

ทำไมจึงต้องศึกษากฏหมาย

เราจำเป็นต้องใช้กฏหมายเพื่อให้ทราบถึงสิทธิหย้าที่ของตนเองเพื่อให้ปฏิบัติตามกฏหมายได้อย่างถุกต้อง
กฏหมายมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์ทุกคน
ไม่ให้สังคมเกิดความวุ่นวายจึงต้องมีกฏเกณฑ์ควบคุม

ประเภทของกฏหมาย

แบ่งตามพื้นที่ที่ใช้บังคับ
แบ่งตามลัการะของเนื้อหา
แบ่งตามบุคคลที่เป็นวัตถุแห่งความสัมพันธ์
การพยากรณ์ (regression)
การหาความสมพันธ์

การหาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ correlation)

การทดสอบความแตกต่างระหว่างบุคคล

แคสร์ (chi-square)

F-test

t-test

แบ่งตามรูปแบบที่ปรากฏ
การวัดการกระจาย

ความแปรปรวน (Variance)

ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

พิสัย (Range)

การวัดแนวโน้มการเข้าสู่ศูนย์กลาง

ฐานนิยม (Mode)

มัธยฐาน (Median)

ค่าเฉลี่ย (Mean)

การแจกแจงความถี่ (frequency)