Categorie: Tutti - การประเมิน - ความน่าเชื่อถือ - สารสนเทศ - การวิเคราะห์

da Pathipat Dee Masila mancano 6 anni

637

61105029 Evaluate, Analysis, Synthesis

การประเมินสารสนเทศเป็นขั้นตอนสำคัญในการคัดเลือกข้อมูลที่มีคุณค่าและน่าเชื่อถือ เพื่อตอบสนองความต้องการอย่างแม่นยำ ต้องพิจารณาแหล่งที่มาของข้อมูล ผู้เขียน สำนักพิมพ์ และความทันสมัยของข้อมูล นอกจากนี้ยังต้องตรวจสอบว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด เช่น ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ หรือ ตติยภูมิ การวิเคราะห์สารสนเทศหมายถึงการแยกแยะและตรวจสอบข้อมูลอย่างละเอียด เพื่อทำความเข้าใจและหาความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ของข้อมูล กระบวนการนี้ช่วยให้สามารถสร้างโครงสร้างใหม่จากข้อมูลที่มีอยู่ได้ การสังเคราะห์สารสนเทศหมายถึงการจัดกลุ่มและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อสร้างโครงร่างใหม่และนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ การเขียนแผนผังความคิดและการเขียนโครงร่างเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการจัดระเบียบความคิดและข้อมูล ทำให้การนำเสนอผลมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันที่เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการช่วยในการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ

61105029 Evaluate, Analysis, Synthesis

การประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ (Evaluate, Analysis, Synthesis)

หลักเกณฑ์ในการพิจารณา สารสนเทศที่ดี

พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่
พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ
พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
พิจารณาแหล่งที่มา ของสารสนเทศ
พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต
พิจารณาผู้แต่ง
พิจารณาความน่าเชื่อถือ
ความเที่ยงตรง
ความถูกต้องของสารสนเทศ

การสังเคราะห์

การเขียนแผนผังความคิด (Mind Map)
การนำไปใช้งาน 1.ใช้ระดมพลังสมอง 2.นำเสนอข้อมูล เป็นต้น
ขั้นตอนการสร้าง เขียนคำหลัก หรือข้อความสำคัญ ไว้กลางเรื่อง โยงไปยังประเด็น รอบๆตามแต่ว่าจะมีกี่ประเด็น
เป็นลักษณะการเขียนผังความคิด โดยการนำประเด็นใหญ่ๆมาเป็นหลัก แล้วต่อด้วยประเด็นรองในชั้นถัดไป
การนำเสนอผล
ปัจจุบันมีหลายทางเลือกที่ใช้ในการนำเสนอ เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญมากขึ้น เพราะ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราสามารถนำเสนอ ความคิดและสารสนเทศผ่านรูปแบบต่างๆได้
การเขียนโครงร่าง
องค์ประกอบ - บทนำ - เนื้อหา - บทสรุป
เป็นการกำหนดกรอบแนวคิดและขอบเขต ของเรื่อง จัดลำดับหัวข้อให้มีความสัมพันธ์กัน และต่อเนื่องกัน
กระบวนการสังเคราะห์สารสนเทศ 1.จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน 2.จัดกลุ่มอีกครั้ง เพื่อสร้างความสัมพันธ์ตามลำดับชั้น 3.นำแนวคิดต่างๆในแต่ละกลุ่ม รวบรวมเป็นโครงสร้าง ใหม่ในรูปของโครงร่าง 4.ประเมินโครงร่างที่ได้ (กรณีไม่ครบถ้วนต้องกลับไป เริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่)
ความหมาย จัดการสารสนเทศที่ได้มาและนำมาสังเคราะห์ ตลอดจนนำเสนอสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และตรงกับความต้องการ

การเลือกใช้สารสนเทศ

3. การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)
2. การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)
1. การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)

การประเมินสารสนเทศ

หลักการประเมิณสารสนเทศ 1.พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการ อย่างแท้จริงหรือไม่ 2.พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ - แหล่งสารสนเทศ - ผู้เขียน ผู้จัดทำ สำนักพิมพ์ - ทรัพยากรสารสนเทศ - ความทันสมัย 3.พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด (ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ)
ความสำคัญ เพื่อคัดเลือกสารสนเทศที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือ
ความหมาย การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มาสามารถ ตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุก ประเด็น เป็นเหตุเป็นผล มีความน่าเชื่อถือ

การวเคราะห์สารสนเทศ

บัตรบันทึกความรู้
วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา 1.แบบย่อความหรือสรุปความ 2.แบบคักลอกข้อความ 3.แบบถอดความ
ส่วนประกอบ 1. หัวข้อเรื่อง อยู่ที่หัวมุมบนขวา 2. แหล่งที่มาเขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม 3. เลขหน้าที่ปรากฏของข้อมูล 4. ข้อความที่บันทึก
ความหมาย บัตรแข็งขนาด 5x8 หรือ 4x6 หรือกระดาษรายงาน A4 พับครึ่งเพื่อใช้บันทึกข้อมูล จดบันทึกเฉพาะตอนที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ
4. จัดกลุ่มเนื้อหา
3. บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ
2. พิจารณาเนื้อหา ที่สอดคล้องกับ ประเด็นแนวคิดต่างๆ
1. อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง
ความหมาย การแยกแยะสารสนเทศและสอดคล้องกับเรื่อง ที่ต้องการเป็นกลุ่มย่อยๆโดยมีเนื้อหาเดียวกัน ให้อยู่ด้วยกัน

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

มีความทันสมัย
ทันต่อความต้องการใช้
ตรวจสอบได้
เข้าถึงได้ง่าย
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
มีความสมบูรณ์
มีความน่าเชื่อถือ
ต้องมีความความถูกต้อง