Categorie: Tutti

da Thanakon Chanthakhan mancano 5 anni

289

Internet of Things and Regulatory Guidlines for Spectrum Management in Thailand

เทคโนโลยี Internet of Things (IoT) กำลังจะมีบทบาทสำคัญในประเทศไทย โดยมีการนำมาใช้ในหลายด้านเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนในการดำเนินงาน หนึ่งในนั้นคือระบบจัดการการเกษตรอัจฉริยะที่ใช้เซนเซอร์ในการวัดความชื้น ปริมาณแสงแดด และอุณหภูมิ เพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของพืช ด้านการจัดการพลังงานและสาธารณูปโภคจะมีการใช้ Smart Meter และระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะเพื่อตรวจวัดปริมาณการใช้พลังงานและปรับราคาค่าไฟฟ้าให้สอดคล้องกับอุปสงค์-อุปทาน นอกจากนี้ยังมีการนำ IoT มาใช้ในระบบคมนาคมและการจัดการโลจิสติกส์เพื่อเพิ่มความปลอดภัย สะดวก และตรงเวลาในการขนส่ง ส่วนด้านการเงินและการธนาคารจะมีการเพิ่มช่องทางการเข้าถึงผู้บริโภคผ่าน e-Payment และ e-Banking ด้านอุตสาหกรรมและการผลิตจะใช้ระบบควบคุมเครื่องจักรกลการผลิตโดยอัตโนมัติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต ทั้งนี้การจัดการภาครัฐก็จะมีการนำ IoT มาใช้ในการให้บริการสาธารณะและการจัดการเมืองอัจฉริยะอีกด้วย

Internet of Things and Regulatory Guidlines for Spectrum Management in Thailand

Internet of Things and Regulatory Guidlines for Spectrum Management in Thailand

แบบการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยี IoT ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นในประเทศไทย

กระบวนการประยุกต์
การจัดการภาครัฐ

การให้บริการ สาธารณะ (Public Service)

ระบบบ้านอัจฉริยะ (Smart Home)

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

ระบบส่งน้ำอัจฉริยะ

ระบบการคมนาคมอัจฉริยะ (Smart Transportation)

ระบบเมืองอัจฉริยะ(Smart City)

การยื่นคำร้องและการประมวลผลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

การเงินการธนาคาร

เพิ่มช่องทางการเข้าถึงผู้บริโภค ที่ใช้งานอุปกรณ์สื่อสารที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ต

การซื้อขายอัตโนมัติความถี่สูง

การลงทุนและการซื้อขายสินทรัพย์ผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่

e-Payment

e-Banking

ระบบการจัดการพลังงานและสาธารณูปโภค

Smart Meter ซึ่งมีความสามารถใน การวัดปริมาณการใช้ สาธารณูปโภค การวัดปริมาณการใช้สาธารณูปโภค หรือวัดคุณภาพสาธารณูปโภค หรือวัดคุณภาพสาธารณูปโภค

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid)

การคิดราคาค่าไฟฟ้าแบบสอดคล้องกับค่าอุปสงค์-อุปทาน

ที่ทำหน้าที่ตรวจวัดปริมาณการใช้งานพลังงานไฟฟ้าและรวบรวมข้อมูลเพื่อประมาณการค่าอุปสงค์ (Demand Forecast) การใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลาต่างๆ

ระบบข้อมูลสุขภาพและการแพทย์

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบสวมใส่ได้(Wearable Devices)

อุปกรณ์ทางการแพทย์

อุปกรณ์วัดสายตา

อุปกรณ์เก็บข้อมูลกิจกรรมระหว่างวัน

ตรวจวัดความดันโลหิต ชีพจร

วัดวงจรการนอน

ระบบคมนาคมและการจัดการโลจิสติกส์

สถานะการรับ-ส่ง สินค้า

ระบุตำแหน่งยานพาหนะ

ระบบขนส่งมวลชน เพื่อให้ระบบมีความปลอดภัย สะดวก และตรงเวลา

การสื่อสารระหว่างพาหนะต่อระบบคุมคุมการจราจร

การสื่อสารระหว่างพาหนะต่อพาหนะ

ระบบจัดการการเกษตรอัจฉริยะ

อาศัยการทำงานร่วมกันของระบบเซนเซอร์ที่วัดความชื้น ปริมาณแสงแดด อุณหภูมิระบบฐานข้อมูลพืช และระบบให้น้ำปรับปริมาณแสง และระบบปรับ อุณหภูมิที่ทำงานสอดคล้องกันเพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช

อุตสาหกรรมและการผลิต

ระบบควบคุมเครื่องจักรกลการผลิตโดยอัตโนมัติ เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต เซนเซอร์ทุกตัวสามารถสื่อสารกันได้จะเพิ่มความ แม่นยำ และช่วยให้ระบบงานสอดคล้องกันอย่างอัตโนมัติ

ส่งผลให้ระบบ วัตถุและอุปกรณ์ทั้งหลายที่เคยททำงานแยกกัน สามารถเชื่อมต่อถึงกัน และสร้างช่องทางการเข้าถึงกัน

ปัจจัยทางเทคนิคที่ควรพิจารณา

ลักษณะการใช้งานทรัพยากรคลื่นความถี่
การบริหารคลื่นความถี่ในช่วงขยายโครงข่ายทั่วโลก (หลัง ค.ศ. 2025)

มีความพยายามในระดับนานาชาติที่จะ สร้างข้อตกลงหรือมาตรฐานกลางเพื่อให้เทคโนโลยีIoT ใช้คลื่นความถี่ร่วมกับเทคโนโลยีอื่นได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

การบริหารคลื่นความถี่ในช่วงขยายตัว (ค.ศ 2021-2025)

เทคโนโลยีแบบแถบความถี่แคบ หรือเทคโนโลยีแบบแถบความถี่กว้าง (Broadband) ที่มีกำลังส่งต่ำ(Low Power) และมีระยะครอบคลุมที่สั้น Machine Learning ที่ทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สื่อสารกันได้อย่างอัตโนมัติ

การบริหารคลื่นความถี่ในช่วงเริ่มพัฒนา วิวัฒนาการการใช้คลื่นความถี่ของเทคโนโลยีIoT ระหว่างปีค.ศ. 2016-2035

2025 ช่วงขยายโครงข่ายทั่วโลก (Global rollout)

มีความพยายามที่จะทำข้อตกลงระับโลกที่จะร่วมขยายแถบความถี่สำหรับ SRD และ LE ในลักษณะแถบกว้าง เพื่อรองรับการส่งข้อมูลขนาดใหญ่

2020 ช่วงขยายตัว (Expansion)

พิจารณาการใช้งานโดยอาศัยโครงข่าย Mobile Broadband ที่มีพื้นที่ครอบคลุมบริเวณกว้าง

มีการพัฒนาการออกใบอนุญาตแบบใช้ร่วมกัน (LSA:License Shared Access) มากขึ้น

พันนาร่วมใช้งานในย่านความถี่ ISM แบบ LE และอาจมีการพิจารณาการขยายย่านความถี่สำหรับ SRD และ LE

2016 ช่วงเริ่มพัฒนา (introduction)

การใช้แบบ WiFi off-load และ Mobile off-load

การร่วมใช้คลื่นความถี่ย่าน ISM ที่กำหนดให้ใช้โดย Short Range Devices แบบยกเว้นใบอนุญาต (LE: License Exempt)

การใช้พลังงานของอุปกรณ์
อัตราเร็ว ในการรับ-ส่งข้อมูล
พื้นที่ครอบคลุม

Internet of Things (IoT)

เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
เทคโนโลยี Big Data
เทคโนโลยี Machine to Machine

Machine Learning ที่ทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สื่อสารกันได้อย่างอัตโนมัติ

Sensor Network

วิทยาการ Machine Learning

สาขาวิทยาการทางคอมพิวเตอร์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกระบวนการ ตัดสินใจอัตโนมัติ เป็นเครื่องมืออันสำคัญในการสร้างปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ที่ทำหน้าที่ในการตัดสินใจแทนมนุษย์ ตัวอย่างบริษัทที่มีการนำมาใช้งาน

Amazon

Facebook

Google

Subtopic

Sensor Technology
Internet
Background and importance
ในอนาคตอันใกล้มนุษย์อาจมีเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก ที่ถูกพัฒนาไป ด้วยความก้าวหน้า ของเทคโนโลยี IOT
สร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล
Definition
โครงข่ายสื่อสารที่มีการเชื่อมต่ออุปกรณ์โดยอาศัยการฝังระบบอิเล็กทรอนิกส์ software sensor และส่วนเชื่อมต่อโครงข่าย

เครื่องใช้ไฟฟ้า

ยานพาหนะ

อุปกรณ์ สื่อสาร