カテゴリー 全て - มหาวิทยาลัย - นักศึกษา - วิจัย - ปัจจัย

によって สุภาวิณี คงจูด 4年前.

346

ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาเทคนิคการแพทย์ชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศ

การศึกษานี้มุ่งเน้นการสำรวจระดับความเครียดของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในสาขาเทคนิคการแพทย์จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยมีเป้าหมายเพื่อระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดและวิธีการจัดการความเครียดที่นักศึกษาใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยนักศึกษาจำนวน 100 คน ซึ่งถูกสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจากคำถามเกี่ยวกับข้อมูลประชากร ปัญหาความเครียด และวิธีการจัดการกับปัญหาความเครียด การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2563 ถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2563 การวิจัยนี้มีประโยชน์ในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนและปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับนักศึกษา อีกทั้งยังสามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการการศึกษาต่อไป

ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาเทคนิคการแพทย์ชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศ

ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาเทคนิคการแพทย์ชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2563 ต่อรายวิชา GEN61-151 ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

นิยามคำศัพท์

ความเครียดความเครียดเป็นภาวะของอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆระดับความเครียดมี 4 ระดับ
ระดับ 4 Severe Stress (คะแนน 60+ )
ระดับ 3 High Stress (คะแนน 40-59 )
ระดับ 2 Moderate Stress (คะแนน 20-39)
ระดับ 1.Mind Stress (คะแนน10-19)

ขอบเขตงานวิจัย

การวิจัยนี้เป็นการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง 100 คนในนักศึกษาสำนักวิชาสหเวชศาสตร์สาขาเทคนิคการแพทย์ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2563 ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ศึกษาวิจัยระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2563 ถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2563

สมมติฐาน

2.นักศึกษามีวิธีการจัดการกับปัญหาความเครียดในรายวิชาการแสวงหาความรู้และระเบียบวิจัย (GEN 61-151)
1.ในรายวิชาการแสวงหาความรู้และระเบียบวิจัย (GEN 61-151) มีปัจจัย ที่เป็นผลกระทบต่อการศึกษา ที่ทำให้เกิดความเครียด

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่างงานวิจัยของธรรมศักดิ์ สายแก้วเป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเครียดและความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความเครียดของนักศึกษาสาธารณสุขศาสตร์วิทยาลัยสหเวชศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนันทาศูนย์การศึกษาจังหวัดสมุทรสงครามที่กำลังศึกษาในชั้นปีที่ 1-3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 189 คนเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม

ระเบีบยวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
ส่วนที่ 3 วิธีการจัดการกับปัญหาความเครียดของนักศึกษา
ส่วนที่ 2 เป็นปัญหาความเครียดทั้ง 10 ข้อ
ส่วนที่ 1 เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลของประชากรตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้คือนักศึกษาคณะสหเวชศาสตร์สาขาเทคนิคการแพทย์ชั้นปีที่ภาคเรียนที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2563 ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วิธีการดำเนินการวิจัย
เป็นการวิจัยแบบเชิงคุณภาพคือการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนและปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับนักศึกษา
1. ทราบถึงระดับความเครียดและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความเครียดของนักศึกษา

คำถามวิจัย

2.นักศึกษาสามารถจัดการต่อความเครียดที่เกิดขึ้นได้อย่างไร
1.ปัจจัยใดบ้างที่ก่อให้เกิดความเครียดของนักศึกษา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

2.เพื่อศึกษาวิธีการจัดการความเครียดของนักศึกษา
1. เพื่อศึกษาระดับความเครียดและปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของนักศึกษา

ความสำคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย

ต้องการข้อมูลและแนวทางในการแก้ไขปัญหาจากความเครียดของนักศึกษาในอนาคต