POPULATION AND
PUBLIC HEALTH
ทั้งนี้ ทุกทฤษฎีขึ้นอยู่กับสภาวะเเละเหตุการณ์ของเเต่ละยุค ปัจจุบันนี้ การเปลี่ยนเเปลงของประชากร เปลี่ยนไปตาม การเกิด การตาย การย้ายถิ่นฐาน
ทฤษฎีสังคมนิยม ขัดกับความคิดของมัลธัศ การเพิ่มประชากรนำไปสู่การปฎิรูปสังคม
มาร์กซ์เเละเอนเจลส์่ คิดว่า การเปลี่ยนเเปลงประชากรไม่สมารถกำหนดรูปเเบบที่เเน่นอนได้
หลังจากยุค จำเป็นต้องมีการควบคุมประชากร
THEORETICAL OF POPULATION อัตราการเกิดเเละอัตราการตาย จะผันเเปรกัน ยิ่งฉลาดยิ่งมีการเเพร่ลดลง
OPTIMUM POPULAION THEORIES ประชากรมีองค์ประกอบมากว่า 1 ไม่สามารถกำหนดใก้มีสภาวะนิ่งได้ ทุกอย่างมีผลต่อประชากร
DUMONT บุคคลที่ต้องการมีหน้าตาทางสังคม ควรอยู่เป็นโสด
BRENTANO จิตใจเป็นสิ่งสำคัญ ใครที่มีความสบายใจมากกว่าจะมีโอกาสมีลูกน้อย
STERNBERG การมีลูกน้อยเป็นการสร้างความมั่นคงให้กับครอบครัว
ทฤษฎีของมัลธัส อาหารจำเป็นต่อมนุษย์ การเพิ่มขึ้นขึ้นอยู่กับอาหาร การมีเพศสัมพันธ์หลีกไม่ได้
จุดอ่อน อาาจะมีการคำนวณผิดพลาด การเพิ่มผลผลิต การวางเเผนครอบครัว
เเนวคิดต่างๆ
---เเนวคิดสมัยโบราณ เเละสมัยกลาง การเพิ่มจำนวนของประชากรมากเกินไป อาจจะทำให้ผลผลิตต่อประชากรที่ทำงานหนึ่งลดลง
---เเนวคิดของนักปราชญ์จีนโบราณ การตายมากขึ้นอาหารไม่เพียงพอ ก่อนเเต่งานต้องมีวุฒิภาวะ สงครามทำให้อัตราเพิ่มประชากรเปลี่ยน ไม่เสียค่าใช้จ่ายในพิธีเเต่งงาน
---เเนวคิดสมัยกรีกตอนต้น กำหนดประชากรจากการทำสงคราม ประชากรมาก การป้องกันรัฐสูง มีการจ้างให้คนเเต่งงาน ให้อิสระในการย้ายเข้ามา ในกรณี ประชากรมากเกินไปจะมีการปล่อยทารกลงเเม่น้ำ
---เเนวคิดสมัยจักรวรรดิโรมัน ส่งเสริมการเพิ่มประชากร เพื่อการขยายอำนาจ กำลังทหารต่างๆ เเละมีการเก็บภาษีคนโสด
---เเนวคิดของฮีบรูกรือยิว มีการส่งเสริมการเพิ่มประชากรมาก เเละเชื่อว่าถ้าประชากรมากเกินไปจะถูกควบคุมด้วย สงคราม โรคภัยต่างๆ
---เเนวคิของกลุ่มคริมเตียน ยกย่องหญิงพรหมจารี เเละถือว่าการมีหลายครอบครัวไม่ดี
---เเนวคิดมุสลิม ที่ไหนมีการประชามาก จะส่งผลให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
เเนวคิดพาณิชย์นิยม การค้าขาย ใช้เเรงงานทาส เน้นประโยชน์ของประชากร มีการเพิ่มจำนวนมากขึ้น ทำให้ค่าจ้างราคาถูก ส่งเสริมให้มีการเเต่งงาน ไม่ให้ความสำคัญกับคุณภาพของประชากร
เเนวคิดทางคณิตการเมือง อัตราการเพิ่มขึ้นเป็นอนุกรมเรขาคณิต
EDUCATION การศึกษา จะทำให้คนมีความรู้คิดวิเคราะห์โดยไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องเรียน
CHARACTERISTIC สถานะทางสังคมเเละเศรษฐกิจ นั้นบอกถึงความเเตกต่างระหว่างรายได้ เชื้อชาติ อาชีพ คนรวยจะมีพฤติกรรมต่างกับคนไม่รวย
OCCUPATION อาชีพนั้นจพยอกถึงความสนใจของตัวบุคคลนั้น
RELIGION ศาสนาส่งผลต่อการตัดสินใจตามหลักคำสอนของ ศาสดาของศาสนานั้นๆ
CHARACTERISTIC
EDUCATION
OCCUATION
AGE
อายุ สามารถบ่งบอกความสามารถในการเข้าใจเนื้อหา การรับรู้ต่างๆอย่างมีเหตุผลดีว่า การสนใจ การตัดสินใจ กระบวนการคิดต่างๆ เเละรวมไปถึงการชักจูวใจ โดยวัยเด็ฏเเละวัยผู้อายุจะมีการชักจูงดีกว่า
ตัวเเปรเรื่องตัวเลข จะมีความเเตกต่างการ
ช่วงอายุ 80 วัยเเห่งการจากลา
ช่วงอายุ 70-80 ปีวัยการสูดเสียคนที่รัก
ช่วงอายุ 50-60 ปี วัยผู้สูงอายุ มีการเปลี่ยนเเปลงของฮอร์โมน อาจจะมีปัญหาเครียด ซึมเศร้า
ช่วงอายุ 40-50 ปี เริ่มมีการท่องเที่ยวหาความสุขให้ชีวิต สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว ต้องมีการดูเเลในเรื่องการเดินทางต่างๆ
ช่วงอายุ 30-40 ปี เริ่มมีการสร้างครอบครัว มีการวางเเผนครอบครัว จะมีความเครียดมากที่สุด เนื่องจากการเตรียมตัวที่จะมีลูก เเละอาจจะมีปํญหาอื่น ปัญหาด้านความรู้สึก ฮอร์โมน ต่างๆ
ช่วงอายุ20-30ปี วัยทำงาน มีปัญหาเกี่ยวกับที่ทำงาน เครียดกับงาน โรคจากการทำงาน
ช่วงอายุ 10-20ปี เป็นช่วงวัยรุ่นเเละวัยเริ่มเจริญพันธ์ุ รางกายจะสามารถมีการสืบพันธ์ุได้ คือ ผู็หญิงมีประจำเดือน ผู้ชายมีการผลิตน้ำเชื้ออสุจิ
ช่วงอายุ 10 ปี ต้องการการดูเเลเป็นพิเศษเป็นช่วงที่มีการพัฒนามากที่สุด
ซึ่งช่วง 2-5 ปีเป็นช่วงที่มีการตอบสนองต่อร่างกายเเละสมองมากที่สุด
RELIGION
ECONOMIC STATUS
SOCIAL STATUS
SEX
เพศ โดยทั่วไปจะมีการตามสากลเเบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ชาย เเละหญิง
เเต่ในปัจจบันยังมีเพศทางเลือก เรียกกว่า LGBT กลุ่มคนที่ระบุเพศไม่ได้
โดยจะมีการจำเเนกพบว่า มuผู้หญิงมากกว่าผู็ชาย 2 %
ความเเตกต่างระหว่าง ผู้ชายเเละผู้หญิง
ผู้ชาย 49%ความเเข็งเเรง เซนต์ในเรื่องของทิศทางดีกว่าผู้หญิง การสือสารเล็กน้อย
ผู้หญิง 51%การสือสาร ความละเอียดละอ่อน การจูงใจ จะดีกว่าผู้ชาย
Definition Demography
SIZE ขนาด
STRUCTURE โครงสร้าง
CHARACTERISTIC ลักษณะจำเพาะ(เพศสภาพ)
CHANGING เปลี่ยนเเปลง
DISTRIBUTION การกระจาย
FACTOR ปัจจัย