によって Nanthiphat _215 2か月前.
55
もっと見る
O:ผู้ป่วย NPO ไป 2ครั้ง เพื่อผ่าตัดแต่ยังไม่ได้รับการผ่าตัดทั้ง 2รอบ
S:ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568 S:ผู้ป่วยมาด้วยอาการปวดสะโพกขวามาก S:ได้รับการถ่วงดึงกระดูกแบบ skin traction
3.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหวเช่นแผลกดทับ ท้องผูกผื่นแพ้พลาสเตอร์ ผิวหนังอักเสบ การกดทับเส้นประสาทที่ขา ข้อติด
S:ได้รับการถ่วงดึงกระดูกแบบ skin traction S:ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยมีข้อจำกัดของการเคลื่อนไหว
วัตถุประสงค์ ไม่เกิดแผลกดทับท้องผูกกล้ามเนื้อฝ่อลีบข้อติดแข็งเวลาที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
1. ประเมินลักษณะผิวหนังทุก 4 ชั่วโมงและทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนท่านอนเช่นการมีรอยแดงการเกิดตุ่มพองตุ่มน้ำใสร้อนโดยเฉพาะบริเวณกระดูกหากพบมีรอยแดงจะต้องเปลี่ยนท่าให้ผู้ป่วยบ่อยขึ้น 2. จากท่าของผู้ป่วยตามหลักการถ่วงดึงกระดูกซึ่งต้องจัดขาให้ผู้ป่วยกลางออกเล็กน้อยเชือกมีปุ่มตุ้มน้ำหนักแขวนอยู่ในรอบและรอยอิสระน้ำหนักที่ใช้ถ่วงดึงตรงตามแผนการรักษา 3. วางขาบนหมอนและดูแลให้เท้ารอยอิสระเสมอหรืออาจจัดหาหมอนหรืออุปกรณ์วางด้านข้างขาสองด้าน 4. ประเมินลักษณะการกดเบียดที่เส้นประสาทขาได้แก่ภาวะเท้าตก กระดกข้อเท้าไม่ได้ ชา 6. กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทั้งออกกำลังกายชนิดผู้ป่วยทำเองและออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้หรือการออกกำลังกายชนิดที่ผู้ป่วยทำร่วมกับผู้ช่วยเหลือเช่นการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพการออกกำลังกล้ามเนื้อขาการฝึกกระดูกข้อเท้าขึ้นลงการหมุนข้อเท้าการฝึกเกร็งกล้ามเนื้อขาและน่อง 7. แนะนำการรับประทานอาหารที่มีกากใยได้แก่ผักผลไม้อาหารที่มีธัญพืชหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดท้องผูกรับประทานน้ำอย่างน้อยวันละ8แก้ว หรือ 2ลิตร 8. ดูแลให้ได้รับยาสวนเมื่อผู้ป่วยไม่ได้ขับถ่าย
เกณฑ์การประเมิน -ไม่มีแผลกดทับเกิดขึ้นทุกตำแหน่งโดยเฉพาะบริเวณตำแหน่งปุ่มกระดูก -ผู้ป่วยสามารถขยับตัวและแขนขาได้ตามความเหมาะสมภายใต้ข้อจำกัด -ขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระได้ตามปกติท้องไม่