Knowledge Inquiry (การสืบค้นสารสนเทศและความรู้)
3. การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
2. เครื่องมือสืบค้น (Search engine) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทำงานของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น
1. นามานุกรม (Web Directories) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต
5. เทคนิคอื่นๆ ได้แก่
5.7 ควรใช้ค าที่หลากหลายและไม่ควรใช้คำที่ค้นหาเกิน 32 คำ
5.6 เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering) เทคนิคนี้จะมีใช้สสำหรับSearch Engine บางตัว
5.5 เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของคำ (Definition)
5.4 เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range)
5.3 เทคนิคการค้นกลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย * (Wildcard)
5.2 เทคนิคการค้นหาค าพ้องความหมาย (Synonyms)
5.1 เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายค าพูด “…..” (Exact phrased search) ซึ
4. เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น
4.2 สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลก ากับลงในประโยคการค้น
4.1 สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)
3. เทคนิคการใช้ค าใกล้เคียง
3.4 BEFORE หมายถึงให้ค าค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 คำโดยต้องอยู่ตามลำดับที่กำหนดเท่านั้น
3.3 FAR หมายถึง ให้ค าค้นอยู่ห่างกันได้ 25 คำหรือมากกว่านั้น
3.2 NEAR หมายถึง ให้ค าที่ค้นอยู่ใกล้เคียงกันในระยะ 25 คำสลับที่ได้
3.1 ADJ หมายถึง ให้ค าที่ค้นอยู่ใกล้กัน สลับลำดับคำได้
2. เทคนิคการตัดคำ
2.2 การสืบค้นในลักษณะของ Stemming
2.1 การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดค าส่วน
ใหญ่เป็นการตัดท้ายค าค้นที่ต้องการ
1. เทคนิคตรรกบูลลีน
1.3 การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus)
1.2 การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu
1.1 การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น
Main topic
องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)
3) โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor)
2) ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog ซึ
1) ตัวส ารวจหรือรวบรวมข้อมูล
2. การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์
เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และ
ขอบเขตกว้างขวาง
2.3 ฐานข้อมูลทดลองใช้ฐานข้อมูลลักษณะนี้เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์
สารสนเทศน ามาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน
การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
5. เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล
4. แสดงผลการสืบค้น เมื่อสืบค้นจนได้ปริมาณรายการที่พอเพียงกับความต้องการ
3. ลงมือสืบค้น โดยทั่วไปสามารถสืบค้นได้2 วิธีคือการใช้เมนูในการสืบค้น และการ
สืบค้นโดยการพิมพ์ค าสั่ง
2. เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม
1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและก าหนดค าส าคัญเพื่อใช้ในการค้น
2.2 ฐานข้อมูลส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล
2.1 ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก คือฐานข้อมูล
ออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ
1. การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์
เป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศ
ของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศ
1.2 ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
1.2.2 ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)
เลขมาตรฐานสากลประจ าวารสาร (ISSN)
ชื่อวารสาร (Journal)
ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ (Library that have this journal)
ปี(Year)
ชื่อเรื่อง (Title)
1.2.1 ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description) ประกอบด้วย
เลขมาตรฐาน (ISBN)
หัวเรื่อง (Subject)
สถานที่ (Location)
หมายเหตุ (Note)
รูปเล่ม (Description)
เลขเรียกหนังสือ (Call number)
สถานภาพ (Status)
พิมพลักษณ์ (Imprint)
ชื่อเรื่อง(Title)
ชื่อผู้แต่ง (Author)
1.1 วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC
1.1.4 หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่
รายการที่ต้องการ
1.1.3 หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่
รายการที่ต้องการ
1.1.2 ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก
1.1.1 จากหน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้
เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู