Kategorier: Alle - พัฒนา - เครือข่าย - ชุมชน - ความรู้

av Borin treerus 6 år siden

153

Knowleadge Society

สังคมแห่งความรู้หมายถึงสังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศได้อย่างสูง โดยมีบุคลากรที่ใช้ทักษะและความรู้ในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาเป็นส่วนสำคัญของชุมชนแห่งการเรียนรู้ โดยไม่มีข้อจำกัดเรื่องขนาดหรือสถานที่ตั้ง เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง กลุ่มภาคประชาชนมีบทบาทเป็นแกนกลางในการจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน ทุกคนในสังคมเป็นทั้งครูและผู้เรียน มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ร่วมกันของบุคคลและชุมชน สังคมความรู้ในยุคที่สองมีความสมดุลและบูรณาการ โดยประชาชนและทุกภาคส่วนร่วมกันเป็นเจ้าของและใช้ความรู้ให้เกิดพลัง มีความเป็นอิสระและพึ่งพาตนเอง นักวิชาการและนักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทำให้เกิดการวิจัยแบบบูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหาทั้งในระดับย่อยและระดับใหญ่ สังคมความรู้ยุคที่หนึ่งมีพลังและอำนาจในการผลิต มีความสามารถในการแข่งขันและการอยู่รอด นักวิชาการและนักวิชาชีพมีบทบาทหลักในการจัดการและพัฒนาความรู้

Knowleadge Society

Knowleadge Society

ลักษณะสังคมแห่งความรู้

11.ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
10. ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
8. การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
6.มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
5.มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
4.สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)
3.ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
2.เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
1.ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

ความรู้ (Knowledge)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้” ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก จากกันได้ ซึ่งคำทั้ง 3 คำมีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ
ความหมายของสารสนเทศ (Information) สารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษคำว่า “Information” ซึ่งมีผู้ได้ให้นิยามไว้ต่างๆ ดังนี้

Turban (2006) กล่าวว่า สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการจัดการและตีความหมายแล้วมี คุณค่าต่อผู้รับเพื่อการน าไปใช้งาน เช่น เกรดเฉลี่ยสะสมของนักศึกษา เป็นต้น

คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (2544) กล่าวว่า สารสนเทศ หรือ สารนิเทศ หมายถึง แก่นหรือเนื้อหาที่ส าคัญ ซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้ ทราบ อาจเป็นข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2549) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ถูก มนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล เนื่องจากสามารถสื่อความหมายได้โดยมีความ ครอบคลุมที่กว้างกว่า

สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจ านวนและคุณภาพ เช่น ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน เป็นต้น

ความหมายของข้อมูล (Data) ข้อมูลสามารถแบ่งเป็น 5 ประเภท ดังนี้

5) ข้อมูลเสียง (Voice Data) คือ เสียงต่างๆ ได้แก่ เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือ เสียงพูด เสียงที่บันทึกไว้ฟัง เป็นต้น

4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล

3) ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก เช่น ข้อมูลภาพโต๊ะ ภาพเก้าอี้ ภาพอาคาร เป็นต้น

2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถน ามา ค านวณได้ เช่น ชื่อคน ชื่อบริษัท เป็นต้น

1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจ านวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถ นำมาบวก ลบ คูณ หารได้ เช่น ข้อมูลบัญชีการเงิน ราคาสินค้า เป็นต้น

กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ท ำได้หลายวิธีการซึ่งจะแบ่งได้สองกรณี
5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดยการใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT)
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบ
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง
1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

ประเภทรูปแบบความรู้ (Type of Knowledge)

สามารถแบ่งความรู้ออกเป็น 2 ประเภท
2) Explicit Knowledge

ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฎี คู่มือต่างๆ ในบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม

1) Tacit Knowledge

ความหมายคือ ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการท าความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ

ยุคของสังคมความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา 1Knowledge Society 3การที่ผลงานวิจัยย่อย ๆ หลาย ๆงานวิจัยรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหาวิจัยย่อยและปัญหาใหญ่แบบครบวงจรวัฎจักรของความรู้ในสังคม
สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมี บทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการ พัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมาก

ความหมายของสังคมความรู้

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก ความรู้ที่มีบุคลากรท างานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง อีกความหมายหนึ่งได้อธิบายถึงสังความรู้ว่าเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้ บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่งการ เรียนรู้ องค์ความรู้ต่าง ๆ จนสามารถสร้างความรู้ สร้างทักษะ มีระบบการจัดการความรู้และระบบ การเรียนรู้ที่ดี มีการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทุกภาคส่วนในสังคม ท าให้เกิดพลัง 1Knowledge Society 2สร้างสรรค์ และใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการเลือกและตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาอย่าง เหมาะสมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง