Категории: Все - นโยบาย - สังคม

по Onpreeya Prasomkit 3 лет назад

480

องค์ประกอบการ กำหนดนโยบายสาธารณะ

การกำหนดนโยบายสาธารณะมีองค์ประกอบหลายด้านทั้งทางการและไม่ทางการ ในด้านทางการรวมถึงบทบาทของตุลาการ การบริหารและระบบราชการ รวมทั้งสภานิติบัญญัติที่มีหน้าที่หลักในการออกกฎหมายและเป็นศูนย์กลางของการกำหนดนโยบาย ส่วนด้านไม่ทางการประกอบด้วยพรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ที่มีบทบาทสำคัญในการมีส่วนร่วมและสร้างอิทธิพลต่อกระบวนการนโยบาย นอกจากนี้ ปัจเจกชนก็มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายเช่นกัน ทั้งนี้ยังมีแนวคิดเรื่อง "

องค์ประกอบการ
กำหนดนโยบายสาธารณะ

องค์ประกอบการ กำหนดนโยบายสาธารณะ

Black Box (Easton)

ระบบการทำงานภายในที่ไม่สามารถอธิบาย ได้ซึ่งจะมีแค่บุคคลภายในเท่านั้นที่จะรู้ถึงกระบวนการต่าง ๆ เพื่อเพื่อขึ้นของตัวนโยบาย

โครงสร้างและปัจจัยต่าง ๆ

สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ครอบคลุมไปด้วยการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างความมั่นคั่งทางสังคม ขนาดอุตสาหกรรม ค่าเฉลี่ยของการเติบโตทางเศรษฐกิจ ภาวะเงินเฟ้อ ค่าจ้างแรงงาน เป็นต้น
สิ่งแวดล้อมทางการเมือง
สามารถรับรู้ถึงแนวโน้มความต้องการของประชากรได้
มีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบของประชากร

ศาสนา

เชื้อชาติ

เพศ

อายุ

สิ่งแวดล้อมทางสังคม
การสำรวจความคิดเห็น ความรู้สึก ทัศนคติของประชาชนในประเทศ เพื่อง่ายต่อการกำหนดนโยบาย
โครงสร้างทางสิ่งแวดล้อม
อนุญาตให้ประชาชนเข้าถึงรัฐบาลได้
ครอบคลุมด้วยการแบ่งแยก อำนาจของอำนาจไปสู๋รัฐบาล

ผู้มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ

แบบไม่ทางการ
สื่อมวลชน

สื่อต่าง ๆ มีความสำคัญมากในทางการเมืองและ นโยบายสาธารณะ มีบทบาทสำคัญในการให้ข้อมูลของพลเมืองเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ รวมถึงสิ่งที่รัฐบาลกำลังทำ

พรรคการเมือง

มีความสำคัญอันดับแรกคือ สัญลักษณ์พรรคการเมือง ที่จัดวางให้มีผู้มาออกเสียงเลือกตั้งได้เกิดบทบาท ขึ้นออกเสียงจะทราบเกี่ยวกับลักษณะของพรรค

อันดับต่อมาคือ พรรคการเมืองจะหาแนวทางที่ น่าพึงพอใจสำหรับผู้เลือกตั้ง พรรคการเมืองต่างให้ ความสำคัญในอำนาจทางกฏหมายของฝ่ายนิติบัญยัติ

กลุ่มผลประโยชน์

กลุ่มผลประโยชน์เหล่านี้ได้เกิดจาก การรวมกลุ่มของปัจเจกชนที่มีอำนาจ

ชนิดของกลุ่มผลประโยชน์

membership group

Institutional Interest groups

ปัจเจกชน

กระบวนการทางนโยบายซึ่งไม่ได้มีความเชื่องโยงกับกิจกรรมต่าง ๆ ของปะจเจกชน เนื่องด้วยการวิเคราะห์ในการกำหนดนโยบายมีการดำเนินการภายใต้กลุ่มต่าง ๆ ทั้งในแง่ของของกลุ่มอิทธิพล กลุ่มอำนาจ เป็นต้น

แบบทางการ
ตุลาการ

บทบาทของตุลาการคทอมีการจัดวางให้เป็นอีกหนึ่งองค์ประกอบของรัฐธรรมนูญเพื่อเป็นเหตุสนับสนุนในการแบ่งแยกประเด็นทางการเมืองและกฏหมาย

การบริหารและระบบราชการ

ระบบราชการในมุมมองของMax Weber

คือ ตัวแบบหนึ่งขององค์การ โดยสามารถอธิบายอย่างง่ายได้ดังนี้

1. หลักลำดับขั้น(hierachy) 2. หลักความรับผิดชอบ (responsibility) 3. หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality) 4. การมุ่งสู่ผลสำเร็จ (achievement orientation) 5. หลักการทำให้เกิดความแตกต่างหรือความชำนาญเฉพาะด้าน (differentation, specialization) 6. หลักระเบียบวินัย (discipline) 7. ความเป็นวิชาชีพ (professionalization)

สถาบันการบริหาร

ในการกำหนดนโยบายเมื่อมีการเปรียบเทียบในข้อกฏหมาย

สภานิติบัญญัติ

มีหน้าที่คือการออกกฏหมายของสภานิติบัญญัติ

มีความสำคัญเป็นศูนย์กลางของการกำหนดนโยบาย

Free Rider

มุมมองด้านเศรษฐศาสตรื
หมายถึง ผู้ที่ได้ประโยชน์โดยไม่ต้องเสียแรงหรือเงินทุนทางการผลิต ในทางการตลาดหมายถึงกลยุทธ์ที่ตราสินค้าเข้าไปปรากฏตัวต่อผู้บริโภค มีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยไม่ได้จ่ายเงินในฐานะผู้สนับสนุนในกิจกรรมนั้นๆ โดยตรง
มุมมองด้านสังคม
รอรับผลประโยชน์จากสังคมอย่างเดียว

ตัวอย่าง การออกมาประท้วงเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย