Products
Mind Mapping Software
Outlining Software
甘特图软件
Uses
Mind Maps for Education
企业思维导图
用于个人发展的思维导图
思维导图的好处
資源
特点
教育
个人和工作
台式电脑
Video Tutorials
Watch tips and tricks about using Mindomo.
Help Center
Detailed help guide on configuring and using Mindomo.
文章
Top 29 Mind Map Examples
Gantt Chart Software
Concept Map Template
Free mind map software
What is a concept map?
Gantt Chart Maker
Mind Map App
Concept Map Maker
Mind map template
定价
登入
注册
Products
Mind Mapping Software
Outlining Software
甘特图软件
Uses
Mind Maps for Education
企业思维导图
用于个人发展的思维导图
思维导图的好处
資源
部落格
Video Tutorials
Help Center
甚麼是思維導圖?
在线创建思维导图
概念图制作者
文章
Top 29 Mind Map Examples
Gantt Chart Software
Concept Map Template
Free mind map software
What is a concept map?
Gantt Chart Maker
Mind Map App
Concept Map Maker
Mind map template
特点
教育
个人和工作
台式电脑
定价
注册
登入
类别
全部
-
สถิติ
-
การวัด
-
วิเคราะห์
-
การวิจัย
作者:
phatcharee chunsiang
5 年以前
343
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจหรือวิจัย เพื่อให้เข้าใจและสรุปผลของสิ่งที่ศึกษาได้อย่างชัดเจนและแม่นยำ ตัวแปรที่ใช้ในสถิติมีหลายประเภท เช่น ตัวแปรนามมาตร ตัวแปรอันดับ ตัวแปรช่วง และตัวแปรอัตราส่วน ซึ่งแต่ละประเภทมีวิธีการจัดกลุ่มและการวัดที่แตกต่างกันไป การใช้สถิติเพื่อการวิจัยสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทหลัก คือ สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน โดยสถิติเชิงพรรณนาจะใช้ในการทำตาราง การพรรณนา และการอธิบายข้อมูล เช่น การหาค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ส่วนสถิติเชิงอนุมานจะใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู่การสรุปผลต่อประชากร สถิติช่วยในการตัดสินใจเบื้องต้นว่าการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มานั้นมีความเหมาะสมหรือไม่ ทั้งในด้านจำนวนและคุณสมบัติ นอกจากนี้ การตีความหมายและแปลผลค่าสถิติต่างๆ ยังเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
開啟
更多类似内容
การสำรวจสัตว์เลี้ยงในบ้านที่เป็นที่นิยมของนักศึกษา สำนักศิลปศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
由เปมิกา ธัญญานนท์
Basic Research and Data collection
由Pathipat Masila
สถิติพื้นฐานและการเก็บรววบรวมข้อมูล
由s n
สรุปบทที่1 สังคมความรู้(Knowledge Society)
由Palita Tiangtrong
สถิติเพื่อการวิจัย
ประเภทของตัวแปรที่ใช้ในสถิต
ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด (Norminal) – ตัวแปรอันดับ (Ordinal) – ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค (Interval) – ตัวแปรอัตราส่วน (Ratio)
หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิต
ตีความหมาย
แปลผลค่าสถิติต่างๆ ได้ถูกต้อง
เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือ ที่วงวิชาการยอมรับ
อันตราส่วน
1.จัดเป็นกลุ่มได้ 2. บอกระดับความมากน้อย หรือเรียงลำดับ 3. มีค่ำเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน 4. มีจุดเริ่มต้นจำก 0
เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สำมำรถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมีศูนย์แท้
เรียงอันดับ
1.จัดเป็นกลุ่มได้ 2. บอกระดับความมากน้อย หรือ เรียงลำดับได้ เช่น ตัวแปรวุฒิการศึกษา (ประถม มัธยม)
เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดย เรียงอันดับของข้อมูลตำมวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงสุดไปหาต่ำสุด เช่น ลำดับที่ของการ สอบ ลำดับของการประกวดสิ่งต่างๆ หรือ ความนิยมเป็นต้น ซึ่งจะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้เช่นกัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
สถิติ หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการ เก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบน ท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก จำนวน ผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก เป็นต้น
สถิติพรรณนำกับกำรวิจัย
ช่วยสรุปคุณสมบัติของสิ่งศึกษา (ประชากรหรือกลุ่มหน่วยวิเคราะห์) ช่วยสรุปตัวเลขหรือหน่วยจำให้เห็นเป็นรูปธรรม เหมาะสำหรับการรายงานวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ช่วยในการตัดสินใจเบื้องต้นว่าการวิจัยได้เก็บข้อมูล จากกลุ่ม/หน่วยวิเคราะห์ที่เหมาะสมหรือไม่ ทั้งในด้านจำนวนและในด้านคุณสมบัต
ประเภทตัวแปรตามบทบาท
– ตัวแปรตาม (Dependent Variables)
– ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)
ประเภทของสถิต
Inferential Statistics
วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อ นำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร - สถิติพารามิเตอร์ (Parametric Statistics) - สถิตไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric Statistics)
Descriptive Statistics
เกี่ยวข้องกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูลสถิติที่ใช้ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐานค่าฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าพิสัย ฯลฯ
อัตรภาค
1.จัดเป็นกลุ่มได้ 2. บอกระดับความมากน้อย หรือ เรียงลำดับได้ 3. มีค่าเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน
เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่ วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วง เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ ระดับทัศนคติ ระดับควำมคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
นามบัญญัต
1. จัดเป็นกลุ่มได้ เช่น ตัวแปรเพศ (ชำย หญิง)
เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูล หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ อาชีพ เป็ นต้น
คำว่าสถิติ (Statistics) มาจากภาษาเยอรมัน ว่า Statistics มีรากศัพท์มาจาก Stat หมายถึง ข้อมูลหรือสารสนเทศ ซึ่งจะอำนวยประโยชน์ต่อ การบริหารประเทศในด้านต่างๆ เช่น การทำ สำมะโนครัวเพื่อจะทราบจำนวนพลเมือง