类别 全部 - ศาสนา

作者:ลักษมันตร์ พลศิริ 4 年以前

505

ความศรัทธาในศาสนาของนักศึกษาชั้นปีที่1

นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มีความศรัทธาและทัศนคติต่อศาสนาแตกต่างกันไปตามแต่ละบุคคล การวิจัยนี้เน้นศึกษาเกี่ยวกับระดับความศรัทธาของนักศึกษาในศาสนาต่างๆ เช่น พุทธ อิสลาม และคริสต์ รวมถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติของพวกเขา ทั้งนี้มีการตั้งสมมติฐานว่าความสนใจในศาสนาของวัยรุ่นในปัจจุบันลดลงเนื่องจากหันมาเชื่อในวิทยาศาสตร์มากขึ้นและรู้สึกว่ากฎบัญญัติของศาสนามีความเข้มงวดและทำให้รู้สึกถูกบังคับ วัยรุ่นต้องการอิสระในการคิดและการใช้ชีวิตมากขึ้น การวิจัยยังครอบคลุมถึงการสำรวจสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจที่ทำให้นักศึกษารู้สึกดี ในการศึกษาใช้กลุ่มตัวอย่างนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่มีอายุระหว่าง 18-20 ปี ทั้งเพศชายและหญิงจำนวน 100 คน ซึ่งจะช่วยให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับทัศนคติและระดับความศรัทธาของนักศึกษาในศาสนาต่างๆ และนำไปสู่การทำความเข้าใจถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของความสนใจในศาสนาของคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย

ความศรัทธาในศาสนาของนักศึกษาชั้นปีที่1

ความศรัทธาในศาสนาของนักศึกษาชั้นปีที่1

การให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย

ขอบเขตของการวิจัย

นักศึกษาชั้นปีที่1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ตัวแปรตาม

ระดับความศรัทธา

ตัวแปรอิสระ

ศาสนา

อายุ

เพศ

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

เพื่อศึกษาความแตกต่างความศรัทธาต่อศาสนาของผู้ตอบแบบสอบถาม
เพื่อศึกษาระดับความสนใจต่อศาสนาเรื่องความเชื่อ
เพื่อศึกษาถึงปัจจัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับทัศนคติของผู้ตอบแบบสอบถามต่อศาสนา

ระเบียบวิธีวิจัย

ศาสนาที่นับถือ
อายุ 18-20 ปี
กลุ่มนักศึกษาชั้นปีที่1 ทั้งเพศชายและหญิง จำนวน 100 คน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย

ได้ทราบถึงทัศนคติที่มีต่อศาสนาของวัยรุ่นในปัจจุบัน
ได้ทราบถึงสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของนักศึกษาชั้นปีที่1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

คำถามของการวิจัย

Subtopic

สมมติฐาน

ไม่นับถือศาสนาเพราะเสื่อมศรัทธา ไม่เชื่อในสิ่งที่เหนือธรรมชาติตามคัมภีร์ เพราะดูเกินจริง และมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจที่รู้สึกดีกว่า
นับถือศาสนาเพราะศรัทธาและเชื่อว่าศาสนาทำให้ชีวิตดีขึ้น
แม้มีศาสนาแต่ระดับความสนใจของวัยรุ่นส่วนใหญ่ต่อหลักศาสนาน้อยลง เนื่องจากรู้สึกถูกบังคับจนเกินไป วัยรุ่นต้องการอิสระ
วัยรุ่นส่วนใหญ่ให้ความสนใจกับศาสนาน้อยลงเพราะปัจจุบันนั้นหันมาเชื่อในวิทยาศาสตร์มากขึ้น และรู้สึกอึดอัดกับกฏบัญญัติของศาสนา

ความสำคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย

หลายคนเชื่อว่าการเลือกไม่นับถือศาสนาอะไรเลยของคนในปัจจุบันนับเป็น. เทรนด์และกระแส แต่ความจริงแล้วไม่ใช่เพียงแต่คนเหล่านั้นเป็นคนที่เลือกที่จะไม่เชื่อในทุกคนศาสนาด้วยเหตุผลหนึ่งมากกว่า
สังคมไทยมีหลากหลายศาสนา เช่น พุทธ อิสลาม คริสต์ เป็นต้น
ศาสนามีบุคลากรทางศาสนาเป็นผู้สั่งสอนและเป็นผู้บริหารจัดการในเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องกับศาสนา
ศาสนาเป็นสถาบันหนึ่งของสังคม