类别 全部 - สารสนเทศ - ฐานข้อมูล - ออนไลน์ - ทักษะ

作者:นิชานันท์ นิยมเดชา 5 年以前

275

🤡🤡🤡การสืบค้นสารสนเทศและความรู้🤡🤡🤡

การสืบค้นสารสนเทศผ่านฐานข้อมูลออนไลน์และ OPAC เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการเข้าถึงข้อมูลขนาดใหญ่โดยไม่จำกัดระยะทาง ฐานข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้ผ่านเทคนิคการสืบค้นที่หลากหลาย ทั้งขั้นพื้นฐานและขั้นสูง ซึ่งห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศมักจะใช้บริการฐานข้อมูลที่บอกรับเป็นสมาชิกหรือทดลองใช้ก่อนการสมัครจริง การพัฒนาทักษะและเทคนิคการสืบค้นเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้สืบค้นต้องฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ความสามารถในการคัดเลือกและประเมินคุณภาพของข้อมูลที่ได้รับจากอินเทอร์เน็ตเป็นทักษะที่จำเป็นเพื่อให้ได้สารสนเทศที่มีคุณค่าและตรงกับความต้องการ การใช้ OPAC เป็นอีกหนึ่งวิธีในการสืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ ซึ่งสามารถเลือกใช้ฟังก์ชันต่างๆ ในการค้นหาและดูรายละเอียดของรายการที่ต้องการได้

🤡🤡🤡การสืบค้นสารสนเทศและความรู้🤡🤡🤡

🤡🤡🤡การสืบค้นสารสนเทศและความรู้🤡🤡🤡

3 การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต
💀💀5. เทคนิคอื่นๆ

5.7 ควรใช้คำที่หลากหลายและไม่ควรใช้คำที่ค้นหาเกิน 32 คำ

5.6 เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering)

5.5 เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของคำ (Definition)

5.4 เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range) ด้วยเครื่องหมาย ..

5.3 เทคนิคการค้นกลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย *

5.2 เทคนิคการค้นหาคำพ้องความหมาย (Synonyms) ด้วยเครื่องหมาย ~

5.1 เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายคำพูด “…..”

💀💀4. เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น

4.2 สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น

4.1 สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)

💀💀3. เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง โดยใช้คำว่า ADJ, NEAR, FAR และ BEFORE ประกอบเป็นประโยคการค้น เพื่อกำหนดลักษณะของผลการสืบค้นที่ต้องการว่าต้องการให้มีคำใด อยู่ในลักษณะใด
💀💀2. เทคนิคการตัดคำ

2.2 การสืบค้นในลักษณะของ Stemming หมายถึง การสืบค้นจากรากคำ เช่นคำค้นเป็น think กลไกจะสืบค้นคำอื่น ๆ ที่ขึ้นต้นด้วย think เช่น thinking, thinkable เป็นต้น กลไกที่มีลักษณะการสืบค้นเช่นนี้ได้แก่ Hotbot, Infoseekเป็นต้น

2.1 การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดคำส่วนใหญ่เป็นการตัดท้ายคำค้นที่ต้องการ กลไกที่สามารถใช้เทคนิคการตัดคำได้เช่น altavista เป็นต้น ส่วน Hotbot สามารถตัดคำได้ 2 ลักษณะคือ * และ ?โดย * หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีรากคำตามที่กำหนดโดยอาจมีตัวอักษรอื่น ๆต่อท้ายได้ไม่จำกัดจำนวน และ ? หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีรากคำตามที่กำหนดและมีตัวอักษรตามหลังได้อีกไม่เกินจำนวน ? ที่กำหนดในคำค้น นอกจากนี้Hotbot ยังสามารถตัดหน้าคำได้ด้วย เช่น *man ผลการคืนจะเรียกออกมาทั้งคำว่า woman, superman, spiderman เป็นต้น

💀💀1. เทคนิคตรรกบูลลีน

1.3 การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus) กำหนดหน้าคำค้นที่ต้องการ เครื่องหมาย + หมายถึงในผลการค้นต้องมีคำที่กำหนดนั้น และเครื่องหมาย – หมายถึงไม่ต้องการให้พบคำนั้นในผลการสืบค้น กลไกที่ลักษณะการสืบค้นเช่นนี้ ได้แก่ Excite, Lycos, Altavista, Google เป็นต้น

1.2 การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการสืบค้นการที่เกี่ยวข้องกับคำค้นอย่างไร เช่น Match all words, match anywords, must contain, must not contain เป็นต้น กลไกที่มีลักษณะการสืบค้นเช่นนี้ ได้แก่ Lycos, Hotbot, Excite เป็นต้น

1.1 การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น เช่นเดียวกับการสืบค้นในระบบออนไลน์อื่นๆ โดยเครื่องหมาย หรือตัวกระทำของตรรกบูลลีนจะแตกต่างกันไปในแต่ละกลไก บางกลไกสามารถใช้คำว่า And, Or, Not ประกอบในประโยคการค้นได้โดยตรงบางกลไกใช้เครื่องหมาย &(ampersan),I(pipe)และ(exclamation) แทนคำว่า And, Or, Notตามลำดับเช่นใน Altavista เป็นต้น

องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)
3) โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor) ทำหน้าที่เปรียบเทียบความเกี่ยวข้องระหว่างเว็บไซต์และความต้องการของผู้สืบค้นว่ามีความเกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใด
2)ตัวดรรชนี(Indexer)หรือCatalogซึ่งเป็นฐานข้อมูลทำหน้าที่รวบรวมคำและตำแหน่งทุกๆเพจที่ตัวสำรวจรวบรวมมาได้
1) ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสำรวจเว็บสำหรับสำรวจเว็บ
2. เครื่องมือสืบค้น (Search engine)
เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทำงาน ของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น โดยแต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลให้ Search Engine แต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ทั้งในด้านฐานข้อมูลที่ครอบคลุมและ วิธีการทำดรรชนีช่วยค้น
1. นามานุกรม (Web Directories)
เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศ บนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชาหรือตามหลักเกณฑ์ที่ ผู้จัดทำกำหนดขึ้น การสืบค้นสามารถทำได้โดยการเลือกกลุ่มสาขาวิชาที่ตรงกับความต้องการ และ เลือกเรื่องต่างๆ ตามหัวข้อย่อยที่นามานุกรมรวบรวมไว
WWWเพื่อที่จะได้นำไปเป็นแนวทางสืบค้นได้ ซึ่งลักษณะเนื้อหาที่มีให้บริการใน WWW แบ่งได้ดังนี้
😈ข้อมูลการตลาดสำหรับสินค้า และผลิตภัณฑ์ รวมถึงสื่อโฆษณาต่าง ๆ (ProductInformation) 😈นามานุกรมของพนักงานของแต่ละหน่วยงาน (Staff Directory) 😈การจัดแบ่งหมวดหมู่ของสิ่งพิมพ์ในสถาบันบริการสารสนเทศ (Library Catalog) 😈ข่าวสารทันสมัย (Current News) 😈ข่าวสารข้อมูลทางราชการ (Governmental Information) 😈การแถลงข่าวแก่สื่อมวลชน (Press Release) 😈บทความที่เลือกสรรเฉพาะ (Selected Article Reprints) 😈ข้อมูลทางด้านบันเทิง ทีวี เกม ภาพยนตร์ เพลง และอื่นๆ

บทสรุป การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล OPAC ฐานข้อมูลออนไลน์และบนอินเทอร์เน็ตนั้น เป็นความสามารถของแต่ละบุคคล ซึ่งความสามารถดังกล่าวประกอบไปด้วยทักษะ และเทคนิคของ การสืบค้น ซึ่งผู้สืบค้นแต่ละคนจะมีมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับการฝึกฝนและพัฒนาทักษะอย่าง ต่อเนื่อง นอกจากนี้ผู้สืบค้นควรมีทักษะของการคัดเลือกและการประเมินสารสนเทศที่ได้รับจาก อินเทอร์เน็ตร่วมด้วย ขณะเดียวกันผู้สืบค้นก็ต้องรู้จักวิธีการที่คัดเลือกและประเมินสารสนเทศที่ค้น ได้ในแต่ละครั้งด้วย เพื่อที่จะได้นำสารสนเทศที่มีคุณค่า ถูกต้อง และตรงกับความต้องการของ ตนเองไปใช้งานได้อย่างเหมาะสม

2. การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์

การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ สามารถใช้เทคนิคการสืบค้นอย่างง่าย หรือเทคนิคการ สืบค้นขั้นสูงได้เช่นเดียวกับการสืบค้นอื่นๆ
2.3 ฐานข้อมูลทดลองใช้ฐานข้อมูลลักษณะนี้เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์ สารสนเทศนำมาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน ก่อนที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศจะตัดสินใจซื้อ หรือสมัครเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นจริงๆ
2.2 ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS (Thai Library Integrated System) เป็นฐานข้อมูลที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และโครงการ Thai Library Integrated System
2.1 ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก คือฐานข้อมูล ออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และ ขอบเขตกว้างขวาง ซึ่งผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นเพื่อให้บริการสำหรับผู้ที่ต้องการสืบค้นสารสนเทศ โดยไม่ มีข้อจำกัดในด้านระยะทาง ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็ตาม

1. การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ หรือที่เรียกว่า OPAC 👽👽(Online Public Access Catalog)👽👽

1.2 ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
1.2.2 ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)

🐯ชื่อผู้แต่ง (Author) อาจเป็นชื่อบุคคลหรือหน่วยงาน 🐯ชื่อเรื่อง (Title) เป็นชื่อบทความวารสาร 🐯ปี(Year) ได้แก่ ปีพิมพ์ของวารสาร 🐯ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ (Library that have this journal) บอกข้อมูลเกี่ยวกับห้องสมุดและปีที่ฉบับที่ของวารสารที่ห้องสมุดบอกรับ 🐯สถานที่ (Location) บอกสถานที่เก็บและให้บริการวารสาร 🐯ชื่อวารสาร (Journal) บอกข้อมูลเกี่ยวกับชื่อวารสาร ปีที่ฉบับที่ เดือน ปีและ เลขหน้าที่ปรากฏบทความ 🐯เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) 🐯หัวเรื่อง (Subject) เพื่อใช้ในการสืบค้นต่อ

1.2.1 ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)

🤖ชื่อผู้แต่ง (Author) อาจเป็นชื่อบุคคลหรือหน่วยงาน 🤖ชื่อเรื่อง(Title) ของหนังสือ ชื่อวารสาร รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์โสตทัศนวัสดุ 🤖พิมพลักษณ์ (Imprint) ประกอบด้วยครั้งที่พิมพ์ (Edition) สถานที่พิมพ์ (Place) ได้แก่เมืองและประเทศ สำนักพิมพ์(Publisher) และปีที่พิมพ์(Year of publication) 🤖สถานภาพ (Status) สถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ มีหลายลักษณะได้แก่ มีการยืมออกก็จะระบุวันกำหนดส่ง เช่น Due 12-06-04 อยู่บนชั้น (Checkshelves) อยู่ระหว่างการซื้อ (On order) อยู่ระหว่างการจัดหมู่และทำรายการ (Cataloguing) อยู่ระหว่างการซ่อมแซม (Repair) ใช้ภายในห้องสมุด (Lib useonly) 🤖เลขเรียกหนังสือ (Call number) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนทรัพยากรแต่ละรายการ หากเป็นสิ่งพิมพ์จะติดไว้ที่สันหนังสือ เป็นข้อมูลที่มีความสำคัญที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องจดเพื่อไปหาหนังสือบนชั้น เนื่องจากหนังสือในห้องสมุดมีการเรียงตามเลขหมู่แต่สำหรับวารสาร ห้องสมุดไม่มีการกำหนดเลขหมู่ให้ 🤖รูปเล่ม (Description) บอกข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนหน้า ภาพประกอบ และขนาด 🤖หมายเหตุ (Note) เป็นการระบุข้อมูลของทรัพยากรเพิ่มเติม เช่นมีข้อมูลบรรณานุกรม 🤖สถานที่ (Location) เป็นการบอกว่าทรัพยากรรายการนั้นอยู่ที่ห้องสมุดใด 🤖หัวเรื่อง (Subject) เป็นการระบุคeหรือกลุ่มคำที่ใช้แทนเนื้อหาของทรัพยากรมีประโยชน์ในแง่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถหาสารสนเทศได้มากยิ่งขึ้น 🤖เลขมาตรฐาน (ISBN) เป็นเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือแต่ละรายการ

1.1 วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC
1.1.4 หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการ นั้นๆ
1.1.3 หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายละเอียดของรายการดังกล่าว ซึ่ง จะประกอบไปด้วยชื่อเรื่อง ชื่อผู้รับผิดชอบ และปีพิมพ์
1.1.2 ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก
1.1.1 จากหน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้ เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู