类别 全部 - องค์กร - กระบวนการ - การเรียนรู้ - ความรู้

作者:ชมพูนุช พุทธยอด 6 年以前

141

G7_61102059

การจัดการความรู้เป็นกระบวนการที่มีหลายขั้นตอน รวมถึงการสร้างและแสวงหาความรู้ใหม่ การรักษาความรู้เก่า และการกำจัดความรู้ที่ไม่ใช้แล้ว การจัดความรู้ให้เป็นระบบถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญในการเก็บและประมวลผลความรู้ นอกจากนี้ การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กรสามารถทำได้หลายวิธี และการเข้าถึงความรู้ควรสะดวกและง่ายดายสำหรับผู้ใช้ การเรียนรู้ควรเป็นส่วนหนึ่งของงานประจำวันขององค์กร สังคมแห่งการเรียนรู้เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก โดยมีสถาบันทางสังคมและสถานศึกษาเป็นส่วนสำคัญในการริเริ่มและดำเนินการ การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนานวัตกรรมมีอยู่ตลอดเวลา โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของทั้งบุคคลและชุมชนร่วมกัน ทุกคนในสังคมมีบทบาทเป็นทั้งครูและผู้เรียน ซึ่งทำให้ประชาชนได้รับโอกาสในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง กลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลางในการจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน โดยไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

G7_61102059

Knowledge Soceity

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Society Era)

ยุคที่ 2
มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
ยุคที 1
Knowledge Dissemination
Knowledge Optimization
Knowledge Valuation
Knowledge Validation
Knowledge Access

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowledge Society)

กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)

การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ท าได้หลายวิธีการซึ่งจะแบ่งได้ สองกรณีได้แก่ Explicit Knowledge หรือ Tacit Knowledge
การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก
การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบ
การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถท าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

ความรู้ (Knowledge)

ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)
Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฎ
Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการท าความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ
ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)
ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่ง บางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการน าสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และ สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จ ากัดในอนาคต
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ความหมายของสารสนเทศ (Information)

สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์นิตยสารแผ่นพับ จุลสาร เอกสารจดหมายเหตุและวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ

ความหมายของข้อมูล (Data)

ข้อมูล คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อน าไปใช้ประโยชน์