类别 全部 - การพัฒนา - สารสนเทศ - การเรียนรู้ - ความรู้

作者:Pit Thawaiwong 5 年以前

363

🔴 สังคมความรู้ 🔴 (Knowledge Society)

สังคมความรู้คือสังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ข้อมูลและสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบุคลากรในสังคมนี้ต้องมีทักษะและความรู้สูงเพื่อการตัดสินใจและการกระทำที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการจัดการความรู้เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้การแลกเปลี่ยนและการประมวลผลข้อมูลเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ สังคมแห่งการเรียนรู้ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ โดยเน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลักและให้โอกาสประชาชนพัฒนาตนเอง สถาบันทางสังคมและกลุ่มภาคประชาชนมีบทบาทสำคัญในการริเริ่มและดำเนินการพัฒนาชุมชน รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ที่มีภาคีเครือข่ายร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงและการริเริ่มเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลา ทั้งนี้สถานศึกษายังเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่มีความรับผิดชอบร่วมกัน ทุกคนในสังคมนี้สามารถเป็นทั้งครูและผู้เรียนได้ในเวลาเดียวกัน

🔴 สังคมความรู้ 🔴
(Knowledge Society)

🔴 สังคมความรู้ 🔴 (Knowledge Society)

5. กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)

3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้ (Social characteristics of learning)

3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง 3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก 3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals) 3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions) 3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน 3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ 3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา 3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้ 3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน 3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

1. นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูงจาก ความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

4. ความรู้ (Knowledge)

4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge) Davenport and Prusak (1998 : 5) กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การทำงาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกน าไปใช้เพื่อการตัดสินใจและ การกระทำต่างๆ
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้” ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก จากกันได้ซึ่งคำทั้ง 3 คำมีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ และความร
4.1.2 ความหมายของสารสนเทศ (Information) สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
4.1.1 ความหมายของข้อมูล (Data) Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ

2. ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era)

2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา
2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมี บทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการ พัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมาก ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5 ด้านดังน