Kategorier: Alle - กิจการ - คอมพิวเตอร์ - ภาษี

af Ariya Chaowalit 5 år siden

282

บทที่ 5 ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)

ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นภาษีที่ถูกเรียกเก็บจากมูลค่าที่เพิ่มขึ้นในกระบวนการผลิตและการบริโภคสินค้าและบริการ โดยภาษีซื้อนั้นมีรายละเอียดที่ซับซ้อนและมีกฎระเบียบที่ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ภาษีซื้อบางประเภทถือเป็นภาษีซื้อต้องห้าม ซึ่งไม่สามารถนำมาใช้หักลดหย่อนภาษีได้ เช่น ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อทรัพย์สินเพื่อใช้ในกิจการที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด นอกจากนี้ยังมีการกำหนดให้ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ออกโดยระบบคอมพิวเตอร์ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดเพื่อให้ได้รับการยอมรับ การจัดการและการบันทึกภาษีซื้อจึงต้องมีความระมัดระวังเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดและการถูกปฏิเสธจากกรมสรรพากร ทั้งนี้ การปฏิบัติตามกฎระเบียบและการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารจึงเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งในการบริหารจัดการภาษีซื้อตามที่กฎหมายกำหนด

บทที่ 5
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
(Value Added Tax)

บทที่ 5 ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)

ภาษีขาย

ภาษีขาย หมายความว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้เรียกเก็บหรือพึงเรียก เก็บจากผู้ซื ้อสินค้าหรือผู้รับบริการเมื่อขายสินค้า หรือรับชําระค่าบริการ หากภาษีขายเกิดขึ ้นในเดือนใดก็ เป็นภาษีของเดือนนั ้น ไม่คํานึงว่าสินค้าที่ขายหรือบริการที่ให้นั ้นจะซื ้อมาหรือเป็นผลมาจากการผลิตใน เดือนใดก็ตาม (มาตรา 77/1(17)) และให้หมายความรวมถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหน้าที่เสียในกรณีที่กฎหมายถือว่าเป็นการขายสินค้า ตามมาตรา 77/(8) ได้แก่ สินค้าขาดจากรายงานสินค้า นําสินค้าไปใช้โดยตนเองมีสินค้าคงเหลือ ณ วัน เลิกประกอบกิจการ หรือการใช้บริการของตนเองไม่ว่าประการใดๆ

การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

สถานที่จดทะเบียน
3. กรณีสถานประกอบการหลายแห่ง ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนได้ที่ สํานักงานสรรพากรพื ้นที่ หรือสํานักงานสรรพากรพื ้นที่สาขา ในท้องที่ที่สถานประกอบการอันเป็นที่ตั ้งของสํานักงานใหญ่เพียงแห่งเดียว
2. กรณีสถานประกอบการตั ้งอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากรพื ้นที่ สาขา (อําเภอ) ในเขตท้องที่ที่สถานประกอบการตั ้งอยู่
1. กรณีสถานประกอบการตั ้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากรพื ้นที่ หรือสํานักงานสรรพากรพื ้นที่สาขาในเขตพื ้นที่ที่ สถานประกอบการตั ้งอย
แบบคําขอจดทะเบียนและเอกสารหลักฐาน
ในการกรอกรายการในแบบ ภ.พ. 01 เพื่อขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มนั ้นผู้ประกอบการต้อง แสดงสถานภาพต่างๆของการประกอบการให้ครอบถ้วนดังมีสาระสําคัญ ได้แก่ ชื่อผู้ประกอบการ ที่อยู่ สถานที่ตั ้งสถานประกอบการ พร้อมทั ้งลงชื่อและประทับตรานิติบุคคล(ถ้ามี) ในแบบ ภ.พ. 01 ด้วย พร้อม กับแนบเอกสาร ดังนี ้

(7) หนังสือมอบอํานาจ และภาพถ่ายบัตรประจําตัวประชาชนของผู้รับมอบอํานาจ กรณีไม่อาจไป ยื่นคําขอจดทะเบียนได้ด้วยตนเอง

(6) สําเนาหรือภาพถ่าย ใบทะเบียนพาณิชย์(ในกรณีที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์)

(5) สําเนาหรือภาพถ่าย สัญญาเช่าอาคารอันเป็นที่ตั ้งของสถานประกอบการ(ในกรณีเช่า) หรือ หนังสือยินยอมให้ประกอบการ

(4) สําเนาหรือภาพถ่ายเอกสารการดําเนินการร่วมค้า(ถ้ามี)

(3) สําเนาหรือภาพถ่ายหรือหนังสือรับรองของนายทะเบียนห้างหุ้นส่วนบริษัท สําเนาหรือภาพถ่าย หนังสือสําคัญแสดงการจัดตั ้งเป็นนิติบุคคล

(2) สําเนาหรือภาพถ่ายหนังสือสัญญาจัดตั ้งห้างหุ้นส่วนหรือคณะบุคคล(กรณีเป็นห้างหุ้นส่วน สามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล)

(1) สําเนาหรือภาพถ่ายทะเบียนบ้าน และหรือหลักฐานแสดงการอยู่อาศัยจริง ภาพถ่ายบัตร ประจําตัวประชาชน และบัตรประจําตัวผู้เสียภาษีอากรและผู้ยื่นคําขอ(กรณีเป็นบุคคลธรรมดา)

กําหนดระยะเวลาการจดทะเบียน
3. ผู้ประกอบการซึ่งจะเริ่มประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการที่อยู่ในบังคับต้องเสีย ภาษีมูลค่าเพิ่ม มีสิทธิ์ยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ก่อนวันเริ่มประกอบกิจการได้ในเมื่อให้ผู้ประกอบการมีสิทธิยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ภายในกําหนด 6 เดือน ก่อนวันเริ่มประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการ
2. สําหรับผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มแต่มีสิทธิขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น กิจการขายหนังสือ ขายปุ๋ ย ขายปลาป่ น อาหารสัตว์ เป็นต้น ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันที่แจ้งต่ออธิบดีกรมสรรพากรเพื่อขอเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
1. สําหรับผู้ประกอบการที่มีรายรับเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ให้ยื่นคําขอจดทะเบียน ภายใน30วันนับแต่วันที่มีรายรับเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
ผู้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
5. ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรและเข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการ ในราชอาณาจักรเป็นครั้งคราว
4. ผู้ประกอบการอื่นตามที่อธิบดีจะประกาศกําหนดเมื่อมีเหตุอันสมควร
3. ผู้ประกอบการที่ให้บริการจากต่างประเทศและได้ใช้บริการนั ้นในราชอาณาจักร
2. ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย
1. ผู้ประกอบการที่มีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการไม่เกิน1.8 ล้านบาทต่อปี

อัตราภาษี

2. อัตราร้อยละ 0 ใช้สําหรับประกอบกิจการ 6 ประเภท ดังต่อไปนี ้
2.6) การขายสินค้าหรือการให้บริการของคลังสินค้าทัณฑ์บนและของผ้ประกอบการ ู ที่อย่ในเขตอุตสาหกรรมส่งออก ู เฉพาะการขายสินค้าหรือการให้บริการที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกําหนด
2.5) การขายสินค้าหรือให้บริการกับองค์การสหประชาชาติ สถานทต สถานกงศุล
2.4) การขายสินค้าหรือการให้บริการกับส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามโครงการ เงินก้หรือเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
2.3) การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ
2.2) การขายสินค้าในราชอาณาจักรและใช้บริการนั้นในต่างประเทศ
2.1) การส่งออก
1. อัตราทั่วไป มาตรา 80 แห่งประมวลรัษฎากรกําหนดให้จัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา ร้อยละ 10 (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มของราชการบริหารท้องถิ่นร้อยละ 1) แต่มีพระราชกฤษฎีกาให้ลด อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นการชั่วคราวจากร้อยละ 10 เหลือร้อยละ 6.3 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2559และเมื่อ รวมกับภาษีท้องถิ่นร้อยละ 0.7 จะเท่ากับ ร้อยละ 7 ใช้สําหรับการประกอบกิจการที่ต้องเสีย ภาษีมูลค่าเพิ่มทั่วไป

ความรับผิดในการเสียภาษี (Tax Point)

4. การขายสินค้าหรือให้บริการบางกรณ
4.5) การให้บริการโดยการชําระราคาด้วยการใช้บัตรเครดิต
4.4) การขายสินค้าโดยชําระราคาด้วยการใช้บัตรเครดิต
4.3) การขายสินค้าหรือการให้บริการด้วยเครื่องอัตโนมัติโดยชําระราคาด้วย วิธีการหยอดเงินเหรียญ บัตร
4.2) การขายสินค้าที่ไม่มีรูปร่าง
4.1) การขายกระแสไฟฟ้า นํ้าประปา หรือสินค้าที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน
3. การนําเข้า (มาตรา 78/2)
3.4) การนําเข้าสินค้าที่จําแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากร
3.3) การนําเข้ากรณีของตกค้าง
3.2) การนําเข้ากรณีนําสินค้าออกจากเขตอุตสาหกรรมส่งออกโดยมิใช่เพื่อการ ส่งออก
3.1) การนําเข้าสินค้าทั่วไป (มาตรา 78/2(1))
2. การให้บริการ (มาตรา 78/1)
2.4) การให้บริการที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 และโอนสิทธิในการ บริการให้ผ้รับโอน ู (มาตรา 80/1(5))
2.3) การให้บริการที่กระทําในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร (มาตรา 78/1(3))
2.2) การให้บริการตามสัญญาที่กําหนดค่าตอบแทนตามส่วนของบริการที่ทํา (มาตรา 78/1(2))
2.1) การให้บริการทั่วไป (มาตรา 78/1(1))
1. การขายสินค้า
1.5) การขายสินค้าที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 และโอนกรรมสิทธิ์ ในสินค้าให้ผ้รับโอน ู (มาตรา 80/1(5))
1.4) การขายสินค้าโดยส่งออก (มาตรา 78(4))
1.3) การขายสินค้าโดยมีการตั้งตัวแทนเพื่อขายและได้ส่งมอบสินค้าให้แก่ตัวแทน
1.2) การขายสินค้าตามสัญญาให้เช่าซื้อ (มาตรา 78(2))

(2) ได้ออกใบกํากับภาษ

(1) ได้รับชําระราคาสินค้า

1.1) การขายสินค้าทั่วไป (มาตรา 78/1)

(3) ได้ออกใบกํากับภาษ

(2) ได้รับชําระราคาสินค้า

(1) โอนกรรมสิทธิ์ สินค้า

ใบกํากับภาษี (Tax invoice)

ประเภทของใบกํากับภาษี
4. เอกสารอื่นที่ถือเป็ นใบกํากับภาษี
3. ใบกํากับภาษีที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดให้มีรายการเป็ นอย่างอื่น
2. ใบกํากับภาษีอย่างย่อ
1. ใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป
ผู้ไม่มีสิทธิ์ออกใบกํากับภาษี
4. ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ทรัพย์สินถูกนําขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่นตามมาตรา 83/5
3. ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักร และได้ให้ตัวแทนของตนออกใบกํากับ ภาษีแทนตามมาตรา 86/2
2. ผู้ประกอบการจดทะเบียน แต่ไม่ได้มีการขายสินค้าหรือให้บริการ
1. ผู้ประกอบการที่มิได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้มีหน้าที่ออกใบกํากับภาษี
7. ผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่ได้แจ้งขอจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม และได้รับอนุมัติให้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยคํานวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื ้อในแต่ละ เดือนภาษี
6. ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ถูกขีดชื่อออกจากทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เพราะเลิกประกอบ กิจการหรืออธิบดีสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
5. ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร และเข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการ ในราชอาณาจักรเป็นครั ้งคราว โดยได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากร กําหนด
4. ตัวแทนในราชอาณาจักร ของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักร ตัวแทน จะออกใบกํากับภาษีในนามของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักรได้ต่อเมื่อผู้ประกอบการ จดทะเบียนนอกราชอาณาจักร ได้ยื่นคําขออนุมัติตามระเบียบที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด
3. ตัวแทนในราชอาณาจักร ของผู้ประกอบการจดทะเบียนในราชอาณาจักร โดยมีการตั ้ง ตัวแทนเพื่อขายและได้ส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนแล้ว
2. ผู้ขายทอดตลาดที่มิใช่ส่วนราชการ
1. ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 หรือร้อยละ 7

ภาษีซื้อ

ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีซื้อที่ต้องห้ามตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร

14. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูปซึ่งรายการในใบกํากับภาษีได้ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลง เว้นแต่รายการซึ่งได้ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงตาม หลักเกณฑ์ และวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด

13. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูปแบบที่รายการในใบกํากับภาษีเป็นสําเนา (Copy) เว้นแต่ใบกํากับภาษีที่เป็น “เอกสารออกเป็นชุด”

12. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป ซึ่งออกโดยผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ประกอบ กิจการสถานบริการนํ ้ามัน ในกรณีซื ้อนํ ้ามันเชื ้อเพลิง หรือสินค้า หรือบริการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับรถยนต์ต้องจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ โดยไม่ได้ระบุเลขทะเบียนไว้ในใบกํากับภาษีทั ้งนี ้ ไม่ ว่าข้อความดังกล่าวจะตีพิมพ์ จัดทําขึ ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับด้วยตรายางเขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือทําให้ปรากฏขึ ้นด้วยวิธีการอื่นใดในลักษณะทํานองเดียวกัน

11. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูปของสถานประกอบการที่เป็นสํานักงานใหญ่ ซึ่ง สถานประกอบการสาได้นํามาออกและส่งมอบให้แก่ผู้ซื ้อหรือผู้รับบริการ โดยไม่มีข้อความว่า “สาขาที่ ออกใบกํากับภาษีคือ...” ตามมาตรา 86/4(8) ไว้ในใบกํากับภาษีดังกล่าว

10. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป โดยข้อความ “เอกสารออกเป็นชุด” ตามมาตรา 86/4(8) ในใบกํากับภาษีดังกล่าวมิได้ตีพิมพ์ขึ้น หรือจัดทําขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์

9. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการข้อความ หรือคําว่า “ชื่อ ที่อยู่ และเลข ประจําตัวผ้เสียภาษีของผู้ประกอบการทะเบียน ”

8. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป ได้ตีพิมพ์ขึ้นหรือมิได้จัดทําขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ในกรณีจัดทําใบกํากับภาษีด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ

7. ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอาคารหรืออสังหาริมทรัพย์อื่น

6. ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือรับบริการ

5. ภาษีซื้อที่เฉลี่ยเป็ นของกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

4. ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อทรัพย์สินเพื่อใช้ หรือจะนําไปใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายของกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

3. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีอย่างย่อ

2. ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ หรือรับโอนรถยนต์ ที่มิใช่รถยนต์นั่ง และรถยนต์ โดยสารที่มีที่นั่งเกิน 10 คน

1. ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ เช่า หรือรับโอนรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่ มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต

ภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5(1) – (6) มีดังนี ้

6. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีซึ่งออกโดยผ้ไม่มีสิทธิออกใบกํากับภาษี

5. ภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อการรับรองหรือเพื่อการอันมีลักษณะทํานองเดียวกัน

4. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการของผ้ประกอบการจดทะเบียน

3. กรณีมีใบกํากับภาษี แต่ใบกํากับภาษีดังกล่าวมีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ในส่วนที่เป็ นสาระสําคัญตามมาตรา 86/4

2. กรณีมีใบกํากับภาษี แต่ไม่อาจแสดงใบกํากับภาษีได้ว่ามีการชําระภาษีซื้อ

1. กรณีไม่มีใบกํากับภาษี

ภาษีซื ้อ หมายความว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้จ่ายให้กับผู้ขายสินค้า หรือผู้ให้บริการที่เป็นผู้ประอบการจดทะเบียนเมื่อซื ้อสินค้าหรือชําระค่าบริการเพื่อใช้ในการประกอบกิจการ ของตน (ทั ้งที่เป็นวัตถุดิบ หรือ สินค้าทุนประเภทเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เป็นต้น) หากภาษีซื ้อ เกิดขึ ้นในเดือนใด ก็เป็นภาษีซื ้อของเดือนนั ้น ไม่คํานึงว่าสินค้าที่ซื ้อมานั ้นจะขายหรือนําไปใช้ในการผลิต ในเดือนใดก็ตาม

การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่ม

2. การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชําระ
ภาษีที่ต้องชําระ = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ
1. การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องเรียกเก็บ
วิธีที่ 2 การเรียกเก็บภาษีขายโดยรวมภาษีขายอยู่ในราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการ โดย คํานวณภาษีที่เรียกเก็บได้ดังนี

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ (ภาษีขาย) = ฐานภาษี xอัตราภาษี/100*อัตราภาษี

วิิ้ธีที่ 1 การเรียกเก็บภาษีขายโดยแยกภาษีออกจากราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการ คํานวณภาษีที่เรียกเก็บได้ ดังนี

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ (ภาษีขาย) = ฐานภาษี x อัตราภาษี

ฐานภาษี

ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ ฐานภาษีสําหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการ คํานวณภาษีตามอัตราอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งแยกพิจารณาได้ดังนี
5. กรณีอื่นที่กฎหมายกําหนดไว้กรณีเป็นพิเศษ

5.2) การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มของฐานภาษีที่มีมูลค่าเป็ นเงินตราต่างประเทศ

5.1 การคํานวณการขายสินค้าหรือการให้บริการทั่วไป

4. การนําเข้าและการขายยาสูบ นํ ้ามันดิบและผลิตภัณฑ์นํ ้ามัน

4.2) ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าและการขายนํ้ามันและผลิตภัณฑ์นํ้ามัน

4.1) ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าและการขายยาสูบ

3. การนําเข้าสินค้า

3.2) ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าสินค้าที่จําแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ ได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร

3.1) ฐานภาษีสําหรับการนําเข้าสินค้าทุกประเภท

2. การขายสินค้าหรือการให้บริการเฉพาะอย่าง

2.2) ฐานภาษีสําหรับการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ

2.1) ฐานภาษีสําหรับการส่งออก

1. การขายสินค้าหรือการให้บริการทั่วไป

ฐานภาษีสําหรับการขายสินค้าหรือให้บริการทั่วไป ได้แก่ มูลค่าทั ้งหมดที่ผู้ประกอบการ ได้รับหรือพึงได้รับจากการขายสินค้าหรือให้บริการ รวมทั ้งภาษีสรรพสามิต

มูลค่าของฐานภาษีไม่ให้รวมถึง

4) การจําหน่าย จ่าย โอนสินค้าโดยไม่ได้รับประโยชน์หรือค่าตอบแทน ที่ไม่อยู่ในข่าย ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

3) ภาษีขาย

2) ค่าชดเชยหรือเงินอุดหนุนตามที่อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติจากรัฐมนตร

1) ส่วนลดหรือค่าลดหย่อน

การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม

กลุ่มที่ 2 กิจการที่ได้รับการยกเว้นและไม่สามารถขอเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้
21. การให้บริการสีข้าว
20. การขายแสตมป์ ไปรษณีย์ แสตมป์อากร หรือแสตมป์ อื่นของรัฐบาล องค์การของรัฐบาล หรือ องค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เฉพาะที่ยังไม่ได้ใช้ในราคาที่ไม่เกินมูลค่าที่ตราไว้
19. การขายสลากกินแบ่งของรัฐบาล สลากออมสินของรัฐบาล และสลากบํารุงสภากาชาดไทย
18. การขายบุหรี่ซิกาแรต ที่ผลิตโดยโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ซึ่งผู้ขายเป็นบุคคลอื่นที่มิใช่ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง
17. การบริจาคสินค้าให้แก่สถานพยาบาล และสถานศึกษาของทางราชการ หรือให้แก่องค์การหรือ สถานสาธารณกุศล หรือสถานพยาบาลและสถานศึกษาอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
16. การขายสินค้าหรือการให้บริการเพื่อประโยชน์แก่การศาสนาหรือการสาธารณกุศล ภายในประเทศ ซึ่งไม่นําผลกําไรไปจ่ายในทางอื่น
15. การขายสินค้าหรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งส่งรายรับทั ้งสิ ้นให้แก่รัฐโดยไม่หัก รายจ่าย
14. การให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น ทั ้งนี ้ไม่รวมถึงบริการที่เป็นการพาณิชย์ของราชการส่วน ท้องถิ่น หรือเป็นการหารายได้หรือผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็นกิจการสาธารณูปโภคหรือไม่ก็ตาม
13. การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์
12. การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน
11. การให้บริการวิจัย หรือการให้บริการทางวิชาการ ซึ่งต้องมีลักษณะการประกอบกิจการตามที่ กรมสรรพากรกําหนด
10. การให้บริการที่เป็นงานทางศิลปะและวัฒนธรรม ในสาขาและลักษณะการประกอบกิจการที่ อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตร
9. การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ
8. การให้บริการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่าความ
7. การให้บริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น
6. การให้บริการห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์
5. การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลทางราชการและเอกชน
4. การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศทางบกและทางเรือซึ่งมิใช่เรือเดินทะเล
3. การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักรไม่ว่าจะเป็นทางบก ทางนํ ้าหรือทางอากาศ อย่างไรก็ดี หาก เป็นการให้บริการขนส่งโดยอากาศยาน
2. การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยสถาบัน อุดมศึกษาเอกชน หรือโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน
1. การนําเข้าสินค้าของกลุ่มที่ 1 ข้อ 2-7
กลุ่มที่ 1 กิจการที่ได้รับการยกเว้นแต่สามารถขอเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้
7. การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือตําราเรียน จากคําวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 32/2538 ให้การขายเทปประกอบการกับตําราเรียน ถือเป็นการขายตําราเรียนที่ได้รับการยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย
6. การขายยาหรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้สําหรับพืชหรือสัตว์ เพื่อบํารุงรักษาป้องกัน ทําลายหรือกําจัดศัตรู หรือโรคของพืชและสัตว์
5. การขายปลาป่นอาหารสัตว์
4. การขายปุ๋ย
3. การขายสัตว์ทั ้งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตภายในราชอาณาจักร เช่น โค กระบือ ไก่หรือเนื ้อสัตว์ กุ้ง ปลา เป็นต้น
2. การขายพืชผลทางการเกษตรภายในราชอาณาจักร เช่น ข้าว ข้าวโพด ปอ มันสําปะหลัง ผักและ ผลไม้ เป็นต้น
1. การขายสินค้าหรือให้บริการของผู้ประกอบการที่มีรายรับไม่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อไป

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

ผู้ที่กฎหมายกําหนดให้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/1
เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บ ภาษีมูลค่าเพิ่มกฎหมายยังกําหนดให้บุคคลดังต่อไปนี ้ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย (มาตรา 82/1)

3.7) ผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการจากต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั ้นในราชอาณาจักร ให้ผู้ประกอบการดังกล่าวมีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

3.6) ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรและได้เข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือ ให้บริการในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว

3.5) ผู้โอนและผู้รับโอน ในกรณีโอนกิจการ

3.4) ผู้ที่ควบเข้ากันและผู้ประกอบการใหม่ ในกรณีที่มีการควบเข้ากัน

3.3) ผู้ที่มีความรับผิดตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร หรือผู้รับโอนสินค้า ถ้ามี การโอนสินค้าในกรณีสินค้านําเข้าที่จําแนกไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมายว่าด้วย พิกัดอัตราศุลกากรซึ่งได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มและภายหลังสินค้านั ้นต้องเสียอากรตามกฎหมายว่า ด้วยพิกัดอัตราศุลกากร

3.2) ผู้รับโอนสินค้าหรือผู้รับโอนสิทธิในบริการ ในกรณีการขายสินค้าหรือการให้บริการ ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ให้กับองค์การสหประชาชาต

3.1) ตัวแทน ในกรณีที่ผู้ประกอบการอยู่นอกราชอาณาจักร และได้ขายสินค้าหรือให้บริการ ในราชอาณาจักรเป็นปกติธุระ โดยมีตัวแทนอยู่ในราชอาณาจักร

ผู้นําเข้า
ผู้นําเข้า (มาตรา 82(2)) ได้แก่ ผู้ประกอบการหรือบุคคลอื่นซึ่งนําเข้า ผู้นําเข้าสินค้าจะต้อง เสียภาษีมูลค่าเพิ่มเสมอ โดยไม่คํานึงว่าจะเป็นผู้ประกอบการหรือเป็นบุคคลอื่นซึ่งนําเข้า “นําเข้า” หมายความว่า นําสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรและให้หมายความรวมถึงการนํา สินค้าที่ต้องเสียอากรขาเข้าหรือที่ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรออกจากเขต อุตสาหกรรมส่งออกโดยมิใช่เพื่อการส่งออกด้วย
ผู้ประกอบการ
“ผู้ประกอบการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ไม่ว่าการกระทําดังกล่าวจะได้รับประโยชน์หรือได้รับค่าตอบแทนหรือไม่ และไม่ว่าจะได้จดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่มแล้วหรือไม่ ฉะนั ้น ผู้ประกอบการจะมีองค์ประกอบ ดังนี ้

1.3) ประกอบกิจการในราชอาณาจักร

1.2) กิจการที่ต้องเสียภาษี

1.1) บุคคล ตามมาตรา77/1 (1)