Categorías: Todo - input

por Pefch ลงงาน hace 4 meses

112

ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 71 ปี CC : นัดพบ Ames pre op for Explore Lap PI : 1 เดือนก่อนมารพ. มีอาการอืดแน่นท้อง ทานอาหารแล้ว�

1: การติดเชื้อ, ยาปฏิชีวนะ, การผ่าตัด, การดูแล, การประเมิน, การฟื้นตัว Input 2: การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระเพาะอาหารบางส่วนต้องมีการติดตามและประเมินอาการอย่างใกล้ชิดเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่อาจเกิดขึ้นจากแผลผ่าตัด โดยใช้เทคนิคการป้องกันการติดเชื้อที่มีประสิทธิภาพเช่นการล้างมือก่อนและหลังการทำกิจกรรมต่างๆกับผู้ป่วย การประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง รวมถึงการให้ยาปฏิชีวนะ Metronidazole ตามแผนการรักษาและติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า WBC ให้อยู่ในระดับปกติ นอกจากนี้ยังต้องสังเกตอาการข้างเคียงของยาเช่นบวมแดง เจ็บปวดในบริเวณที่ฉีดยา ท้องร่วงหรือคลื่นไส้อาเจียน การผ่าตัดผ่านกล้องมีข้อดีที่ทำให้แผลมีขนาดเล็กและฟื้นตัวได้เร็วกว่า ส่วนการต่อเชื่อมกระเพาะอาหารกับลำไส้เล็กแบบ Billroth I ช่วยให้กระเพาะอาหารทำหน้าที่ในการย่อยอาหารได้ตามปกติ

ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 71 ปี
CC : นัดพบ Ames pre op for Explore Lap
PI : 1 เดือนก่อนมารพ. มีอาการอืดแน่นท้อง ทานอาหารแล้ว�

สุชาติ มงคลวัฒนาวงศ์. (2558). การวินิจฉัยและรักษามะเร็งกระเพาะอาหาร. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย.

วีรพงศ์ วัฒนาวนิช. (2560). การผ่าตัดมะเร็งกระเพาะอาหาร: แนวทางการรักษาและเทคโนโลยีใหม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์.

พงศธร จันทร์เพ็ญ. (2562). มะเร็งกระเพาะอาหาร: การดูแลและรักษาในผู้ป่วยระยะสุดท้าย. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์เชียงใหม่มีเดีย.

ปกรณ์ สุวรรณรักษ์. (2564). มะเร็งกระเพาะอาหาร: การดูแลรักษาและการฟื้นฟู. ขอนแก่น: สำนักพิมพ์ขอนแก่นการแพทย์.

กิตติพงษ์ สุขสำราญ. (2560). แนวทางการเตรียมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัดส่องกล้อง: ข้อควรระวังและการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แพทยศาสตร์.

ประกอบ เพียรเจริญ. (2561). การเตรียมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด: จากพื้นฐานสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศูนย์การแพทย์.

สุพจน์ กิจจาวัฒน์. (2562). การเตรียมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด: แนวทางการปฏิบัติสำหรับพยาบาล. นครปฐม: สำนักพิมพ์พยาบาลวิชาการ.

สุภาภรณ์ วิจิตร. (2564). การเตรียมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด: ทฤษฎีและการปฏิบัติ. ขอนแก่น: สำนักพิมพ์ขอนแก่นการแพทย์.

เอกสารอ้างอิง

Floating topic

เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง

ประเมินผล
14/08/67
5.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ค่า WBC ให้อยู่ระดับปกติ
4.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา คือ - Metronidazole พร้อมทั้งสังเกตอาการข้างเคียงของยา เช่น มีอาการบวมแดง เจ็บปวดในบริเวณที่ถูกฉีดยา ท้องร่วง หรือคลื่นไส้อาเจียนเล็กน้อย
3.ให้การพยาบาลโดยใช้หลักเทคนิคปราศจากเชื้อ โดยการล้างมือก่อน – หลังการทำกิจกรรมการพยาบาลกับผู้ป่วย
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ ได้แก่ มีไข้ ปวด บวม แดงร้อนบริเวณแผลหน้าท้อง เป็นต้น
3.BT อยู่ระหว่าง 36.5-37.4องศาเซลเซียส
2.แผล Aastrectomy แห้งดี ไม่ซึม
1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้ ปวด บวม แดงร้อน เป็นต้น

แผลมี Disharg ซึมเล็กน้อย

BT 36.8 องศาเซลเซียส(14/8/67)

- ผู้ป่วยบอกว่า “ มีน้ำเหลืองซึมบริเวณผ้าก๊อซ ”

เพื่อป้องกันภาวะติดเชื้อ

ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำตัวลดลงเนื่องจากช่วยเหลือตัวเองได้น้อย

Subtopic

ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวตัวเองได้เล็กน้อยสามารถลุกขึ้นนั่งและตะแคงพริกตัวได้แต่ต้องมีคนพยุงลุกนั่ง
6. สังเกตอาการข้างเคียงของยา เพื่อสังเกตอาการข้างเคียงของผู้ป่วยว่าอาเจียน เวียนหัวหรือไม่
5. ดูแลให้ Morphine เมื่อมีอาการปวดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเพื่อให้ผู้ป่วยหายปวดลดลง
4. ดูแลให้สารอาหารให้เพียงพอ เพื่อให้ผู้ป่วยมีแรงที่ลุก ขึ้นนั่งหรือตะแคงได้เอง
3. จัดท่านอนให้ผู้ป่วย เพื่อให้นอนสุขสบาย
2. พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดแผลกดทับ
1.ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน การเคลื่อนไหวเพื่อดูว่า ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้น้อยหรือมาก
2. ท่าทางสีหน้าดีขึ้น
1. ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน การเคลื่อนไหวได้บางส่วน
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
OD:

-Pain score 7

-มีแผลบริเวณหน้าท้อง

-สีหน้าคิ้วขมวดกัน

SD:

ผู้ป่วยบอกว่า “ปวดแผล ไม่อยากลุกหรือขยับตัว”

P/O : Day 1 PS: 7/10 คะแนน

ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลที่ปิด Fixomull บริเวณหน้าท้อง

สีหน้าผู้ป่วยสดใส
ผู้ป่วยสามารถพลิกตะแคงตัวได้
อาการปวดแผลลดลง PS: 4 คะแนน
3.Pain score น้อยกว่า 5 คะแนน
2.ผู้ป่วยไม่หน้านิ่ว คิ้วขมวด
1.ผู้ป่วยบ่นปวดแผลน้อยลง
A :
OD :

P/O วันที่ 2

- มีแผล Explore Lap partial to gastectomy :Billroth I

- Pain score 7 คะแนน

ผู้ป่วยมีหน้านิ่ว คิ้วขมวด

SD :

- ผู้ป่วยบอกว่า “ ปวดแผลมาก”

5. ให้ยาบรรเทาอาการปวด ตามแผนการรักาษา เพื่อให้ผู้ป้วยหายปวด
4.ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ ได้แก่ ลดการรบกวนจากเสียง แสง ปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล ในช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักนานขึ้น
3.จัดท่านอนให้ผู้ป่วยอยู่ในศรีษะสูง
2. จัดการความปวดแบบไม่ใช้ยา โดยการใช้เทคนิคผ่อนคลาย (Relaxation technique) เช่น การหายใจเข้า-ออกลึกๆช้าๆ การเบี่ยงเบนความสนใจ (Distraction)
1.ประเมินระดับความปวด โดยซักถามอาการปวด โดยใช้ Numeric rating scale โดยให้ผู้ป่วยตอบเป็นคะแนน 0-10 คะแนน และสังเกต สีหน้าน้ำเสียง การเคลื่อนไหว การร้อง การส่งเสียง
เพื่อบรรเทาอาการปวดของผู้ป่วย

การบำบัดรักษา

การผ่าตัดกระเพาะอาหารทั้งหมด:

เป็นการผ่าตัดกระเพาะอาหารทั้งหมดออก เพื่อลดความเสี่ยงในการกลับมาเป็นโรคอีก.

ยาเคมีบำบัดมาตรฐาน:

ยามาตรฐานที่ใช้ในการรักษามะเร็งกระเพาะอาหารคือ 5-FU ร่วมกับ Leucovorin โดยอาจมีผลข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ ท้องเสีย หรือสีผิวเปลี่ยน.

การฉายรังสีรักษาและเคมีบำบัด:

ใช้ร่วมกับการผ่าตัดในผู้ป่วยระยะที่ 1 ขึ้นไป หรือในกรณีที่มะเร็งลุกลามไปยังอวัยวะอื่น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา.

การรักษามะเร็งกระเพาะอาหารระยะลุกลาม:

การผ่าตัดอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ เพราะมีความเสี่ยงที่มะเร็งจะกลับมา การรักษาเพิ่มเติมอาจจำเป็นต้องใช้วิธีอื่นๆ เช่น การฉายรังสีหรือการให้เคมีบำบัด.

การผ่าตัดกระเพาะอาหารบางส่วน:

เป็นการผ่าตัดเพื่อเอาส่วนที่เป็นโรคออกจากกระเพาะอาหาร ส่วนที่เหลือจะยังคงอยู่.
การต่อเชื่อมกระเพาะอาหารกับลำไส้เล็กแบบ Billroth I (Billroth I Reconstruction):

ช่วยให้กระเพาะอาหารยังคงทำหน้าที่ในการย่อยอาหารได้ตามปกติหลังการผ่าตัด.

เป็นการต่อกระเพาะอาหารที่เหลืออยู่เข้ากับส่วนต้นของลำไส้เล็กโดยตรง.

วิธีการผ่าตัดผ่านกล้อง (Laparoscopic Surgery):

กล้องและเครื่องมือผ่าตัดจะถูกใส่เข้าไปในร่างกายผ่านแผลเล็กๆ ที่หน้าท้อง.

การผ่าตัดนี้ใช้กล้องส่องภายในเพื่อช่วยในการผ่าตัด ทำให้แผลที่เกิดขึ้นมีขนาดเล็กและฟื้นตัวได้เร็วกว่า.

การผ่าตัดกระเพาะอาหารบางส่วน (Partial Gastrectomy):

ส่วนที่เหลือของกระเพาะอาหารจะยังคงอยู่และยังคงทำหน้าที่ต่อไปได้.

เป็นการผ่าตัดเพื่อเอาส่วนที่เป็นโรคออกจากกระเพาะอาหาร.

การรักษามะเร็งกระเพาะอาหารระยะเริ่มต้น:

มักใช้การผ่าตัดเป็นหลักในการรักษาเพียงอย่างเดียว.

ให้ยาเป็น Morphine - MO 3 mg q 4 hr. Stat

ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 71 ปี CC : นัดพบ Ames pre op for Explore Lap PI : 1 เดือนก่อนมารพ. มีอาการอืดแน่นท้อง ทานอาหารแล้วอาเจียน First Dx. CA Stomach

วิธีการรักษา

วิธีการผ่าตัด
ผ่าตัดกระเพาะอาหาร

ผ่าตัดกระเพาะอาหารบางส่วน

การรักษามะเร็งกระเพาะอาหารระยะแรกๆ ส่วนมากใช้การผ่าตัดเพียงอย่างเดียว

Explore Lap partial to gastectomy :Billroth I

ขั้นตอน:

5.การตรวจสอบและปิดแผล: ตรวจสอบการทำงานของการเชื่อมต่อ และทำการปิดแผลที่ช่องท้อง

4.การเชื่อมต่อ Billroth I: ทำการเชื่อมต่อส่วนที่เหลือของกระเพาะอาหารเข้ากับลำไส้เล็กส่วนต้น เพื่อให้ทางเดินอาหารกลับมาใช้งานได้ตามปกติ

3.การตัดกระเพาะอาหาร: ทำการตัดส่วนหนึ่งของกระเพาะอาหารออก โดยปกติจะเป็นส่วนที่อยู่ใกล้กับลำไส้เล็ก

2.การส่องกล้อง: ทำการส่องกล้องผ่านทางท้องโดยทำการเปิดช่องเล็กๆ เพื่อใส่อุปกรณ์ผ่าตัดและกล้อง

1.การให้ยาสลบและการจัดท่าผู้ป่วย: ผู้ป่วยจะได้รับการให้ยาสลบและจัดท่าให้นอนหงาย (supine position).

Laparoscopic Partial Gastrectomy เป็นการผ่าตัดเอาส่วนหนึ่งของกระเพาะอาหารออก โดยส่วนใหญ่จะเป็นส่วนล่าง (distal) ของกระเพาะอาหาร โดยใช้เทคนิคการผ่าตัดแบบส่องกล้อง (minimally invasive).

Billroth I Reconstruction เป็นวิธีการเย็บต่ออวัยวะใหม่ โดยทำการเชื่อมต่อส่วนที่เหลือของกระเพาะอาหารเข้ากับลำไส้เล็กส่วนต้น (duodenum) หลังจากทำการตัดส่วนของกระเพาะอาหารออก.

ผ่าตัดกระเพาะอาหารแบบทั้งหมด

ผ่าตัดส่องกล้องทางหน้าท้อง
ผ่าตัดสอดกล้องทางหลอดอาหาร

ยาที่ผู้ป่วยได้รับ

Metronidazole 500 mg. IV q 8 hr.
เป็นยารักษาอาการติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อบางชนิดในทางเดินอาหาร และผลข้างเคียง ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศรีษะ ท้องร่วง แน่นท้อง ท้องผูก
Ceftriaxone 2gm. IV OD
เป็นยาป้องกันการติดเชื้อของผู้ป่วยในระหว่างการผ่าตัด รักษาการติดเชื้อของอวัยวะต่างๆ เช่น การติดเชื้อภายในช่องท้อง และผลข้างเคียง ได้แก่ เกิดอาการท้องเสีย Eosinophilia และ Thrombocytosis

อาการและอาการแสดง

ทานอาหารได้น้อย
แน่นท้อง
ท้องอืด
คลื่นไส้อาเจียนหลังกินข้าวทุกครั้ง

พยาธิสภาพ

พฤติกรรมสุขภาพ
รับประทานยาต้มสมุนไพรเอง
ชอบรับประทานอาหารพื้นเมือง ปิ้งย่าง รมควัน
ชอบรับประทานอาหารรสจัด
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ป่วยทำอาชีพปลูกผักทำสวน

ฉีดยาฆ่าแมลงไม่มีการใส่ชุดป้องกัน

1 เดือนก่อนมามีอาการ ท้องอืด แน่นท้อง รับประทานอาหารแล้วอาเจียนออกมา น้ำหนักลด 12 kg ใน 3 เดือน

เกิดจากเซลล์ที่อยู่บริเวณเยื่อบุผิวด้านในและกระจายผ่านออกมาถึงบริเวณเยื่อบุผิวด้านนอก

เซลล์มะเร็งขยายตัวมากขึ้น

เกิดการแย่งอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย

ร่างกายทำงานผิดปกติ

การวินิจฉัย

CT scan
อัลตราซาวนด์
การกลืนแป้งสารทึบแสง
ทำการส่องกล้องระบบทางเดินอาหารส่วนต้น Endoscopy

CA Stomach

ความหมาย
มะเร็งกระเพาะอาหารมักเกิดจากเซลล์เยื่อบุผิวด้านในของกระเพาะอาหารที่กลายเป็นเซลล์มะเร็งและขยายออกไปถึงชั้นเยื่อบุผิวด้านนอก ประมาณ 90% ของมะเร็งกระเพาะอาหารเป็นชนิด adenocarcinoma ส่วนที่เหลือเป็นมะเร็งชนิดอื่นๆ เช่น มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Gastric MALT lymphoma) และมะเร็งเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (GIST)
มะเร็งกระเพาะอาหารสามารถมีลักษณะทางพยาธิสภาพ
Ulcerative: แผลลึก
Scirrhous หรือ Linitis plastica: เนื้อเยื่อกระเพาะอาหารแข็งตัวทั่วๆ มีการลุกลามกว้างและมีพยากรณ์โรคที่ไม่ดี
Fungating: ก้อนเนื้อยื่นเข้าไปในกระเพาะอาหาร
Polypoid: ติ่งเนื้อนูนขึ้นมา

CC : นัดพบ Ames pre op for Explore Lap

ผู้ป่วยอายุ 71 ปี
ไม่ทราบว่าต้องปฏิบัติตัวยังไง

พร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด

กิจกรรมการพยาบาล

4.วัดสัญญาณชีพก่อนเข้าห้องผ่าตัดเพื่อเช็คว่าผู้ป่วยมีความดันสูงหรือต่ำถ้าสูงหรือต่ำมากเกินไปอาจจะทำการผ่าตัดไม่ได้

3. งดน้ำงดอาหารก่อนผ่าตัดก่อนเที่ยงคืน เพื่อให้ทางเดินอาหารว่างป้องกันการสำลักอาหารเข้าระบบทางเดินหายใจ

2.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด

2.3การพลิกตะแคงตัวข้างซ้าย เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือด ป้องกันเกิดแผลกดทับ ทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้มีการเคลื่อนไหวลดอาการท้องอืดและท้องผูก

2.2การไออย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เสมหะออกจากปอดและทางเดินหายใจ โดยการทำ deep breathing ก่อน 4-5 ครั้ง พอหายใจเข้าครั้งให้อ้าปากไอออกจากส่วรลึกของลำคอ

2.1สอนวิธีการหายใจเข้าออกลึกๆยาวๆ การสูดหายใจเข้าทางจมูกยาวๆ กลั้นไว้และหายใจออกทางปากยาวๆ ในลักษณะพ่นลมหายใจออกทางปาก เพื่อส่งเสริมถุงลมเล็กๆในปอดให้ขยายตัวเต็มที่ พื้นที่ในการแลกเปลี่ยนO2และCo2ในปอดเพิ่มขึ้น ทำให้การไหลเวียนเลือดดีขึ้นป้องกันภาวะปอดอักเสบและปอดแฟบได้

1.ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผ่าตัด และการปฏิบัติตัว เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด

ประเมินผล

ผู้ป่วยเคยวิตกกังวลสีหน้าสดใสมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องและให้ความร่วมมือในการรักษา

เกณฑ์การประเมิน

ให้ผู้ป่วยและญาติสาธิตย้อนกลับและสามารถบอกวิธีการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัดได้

ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด

ประเมินความรู้เกี่ยวกับการปฏบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด

ข้อมูลสนับสนุน

OD : สีหน้าวิตกกังวล ถามว่าจะได้กลับตอนไหน

SD : ผู้ป่วยบอกว่า " ไม่รู้ว่าต้องปฏิบัติตัวยังไงหลังกลับบ้าน"