por PLOY JINDARUT hace 5 años
874
Ver más
por วาสนา โตะโกะ
por Apinut Wattanapaiboon
por ชนิตา หมาดหวา
por panida Suttipool
ทฤษฎีการมีกิจกรรมร่วมกัน (The Activity theory)
ยอมรับบาบาทหน้าที่ ของตัวเองที่เป็นอยู่
เป็นที่ปรึกษาให้ คนภายในครอบครัว
อารมณ์ดี
ยิ้มแย้ม แจ่มใส
ไม่มีความวิตกกังวล
ไม่มีความคิดที่หมกมุ่น เกี่ยวกับอดีต
มีความคิดที่สมกับวัย
เจ็บป่วยเล็กน้อยจะหายากินเอง
ไม่ค่อยออกกำลังกาย
ทานอาหารไม่ครบ 5 หมูบางมื้อ
4 แปลผล ค่าปกติในผู้สูงอายุไทย ไม่มีความเศร้า
6 แปลผล ไม่มาการของโรคซึมเศร้าหรือมีอาการของโรคซึมเศร้าระดับน้อยมาก
ผู้สูงอายุใช้เวลาในการเดินตั้งแต่ 30 วินาทีขึ้นไป ถือว่า มีความเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม
-2.2 แปลผล มีความเสี่ยงปานกลาง
ปวดเข่า และ ตอบใช่ 1 ข้อ แปลผล มีโอกาสที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม
12 แปลผล ภาวะโภชนาการปกติ
25.56 แปลผล อ้วน
ไม่มี delirium
19 แปลผล การรู้คิดปกติ
22 (ผู้สูงอายุเรียนระดับประถมศึกษา) แปลผล ไม่มีภาวะสมองเสื่อม
0 แปลผล ไม่มีภาวะการกลืนลำบาก
ไม่มีปัญหาเกี่ยวกับช่องปาก
20 แปลผล ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1(กลุ่มติดสังคม) พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่น ชมชน และสังคมได้
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory) เกิดจากการที่กระดูกอ่อนซึ่งทำหน้าที่ปกป้องและดูดซับแรงกระแทกภายในข้อเข่ามีการสึกหรอและเสื่อมสภาพลง หากกระดูกอ่อนนี้เสียหายเป็นพื้นที่กว้าง กระดูกในข้อเข่าจะเสียดสีกันเอง ทำให้เกิดการอักเสบและมีอาการปวด ผู้สูงอายุจึงมีอาการปวดข้อเข่า
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะข้อเข่าเสื่อม เนื่องจากกระดูกผิวข้อมีการเสื่อมตามอายุ ข้อมูลสนับสนุน S –ผู้สูงอายุบอกว่าปวดข้อเข่า -เจ็บที่กระดูกข้อเข่า O -จากการตรวจประเมินข้อเข่าเสื่อม ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม
กิจกรรมการพยาบาล -ประเมินการปวดข้อเข่าของผู้สูงอายุเพื่อจะได้ให้การพยาบาลอย่างถูกวิธี -แนะนำผู้สูงอายุ เมื่อมีอาการปวดข้อเข่า ให้ทายานวด เพื่อบรรเทาอาการปวดของข้อเข่า -แนะนำให้ผู้สูงอายุจำกัดการเดินเพื่อลดอาการปวดของข้อเข่า -แนะนำท่าให้ผู้สูงอายุ ลุง นั่ง เดินอย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันไม่ให้การปวดข้อเข่าเป็นมากขึ้น -การปรับเปลี่ยนท่าทางหรืออิริยาบถในชีวิตประจำ วัน ลักษณะงานที่ทำ เพื่อลดการบาดเจ็บและแรงเค้นซํ้าๆ ต่อข้อเข่า หลีกเลี่ยงการนั่งคุกเข่า การขัดสมาธิ การนั่งพับเพียบ เพราะการนั่งในท่าที่งอเข่ามากๆ จะทำ ให้เพิ่มแรงดันภายในข้อเข่า และกระดูกที่งอกจากโรคข้อเข่าเสื่อมจะกดทับเนื้อเยื่อรอบๆ ข้อเข่าจะทำ ให้มีอาการปวดมากขึ้น -แนะนำให้ผู้สูงอายุทำกายภาพบำบัดที่โรงพยาบาล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของข้อเข่าเพิ่มขึ้น -แนะนำให้ผู้ป่วยไปพบแพทย์กระดูกเมื่อมีการปวดข้อมากขึ้น เพื่อรักษาข้อเข่ไม่ให้ดีขึ้น -แนะนำ ผู้สูงอายุและครอบครัว ทราบถึงผลดีของการปรับสิ่งแวดล้อมในบ้าน เพื่อลดแรงกดหรือการเสียดสีของข้อเข่า
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุมีการปวดบริเวณข้อเข่า น้อยลง เกณฑ์การประเมินผล -การปวดข้อเข่าของผู้สูงอายุลดลง -ข้อเข่ามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory) เกิดจากระบบประสาทมีการำงานหนัก เมื่ออายุมาก เซลล์ประสาทจะทำงานลดลง เสื่อมลงและตาย จนทำให้การทำงานของเซลล์ประสาทลดลง ผู้สูงอายุจึงมีการหลงๆลืมๆเล็กน้อย
ทฤษฎีการสะสม (Accumulative theory) เกิดจากการรับประทานอาหารจำพวกไขมัน(มันหมู) ทำให้เกิดการสะสมของไขมันในรูปต่างๆ และไม่ได้มีการเผาผลาญไขมันจึงทำให้ผู้สูงอายุรายนี้มีรูปร่างที่อ้วน
ผู้สูงอายุมีภาวะอ้วน เนื่องจากชอบทานอาหารที่มีไขมันสูง ข้อมูลสนับสนุน S -ผู้สูงอายุบอกว่าอ้วน -ชอบทานไขมันหมู O -ผู้สูงอายุมีลักษณะรูปร่างอ้วน -ค่า BMI ของผู้สูงอายุเท่ากับ 25.56 แปลผล อยู่ในเกณฑ์อ้วน -ไม่ออกกำลังกาย -ชอบทานไขมันหมู
กิจกรรมการพยาบาล -บอกให้ผู้สูงอายุทราบถึงโรคแทรกซ้อนที่ จะตามมา เพื่อให้ผู้สูงอายุตะหนักถึงภาวะอ้วน -แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการออกกำลังกายไม่เหมาะสมกับวัย -แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่ไม่มีไขมันหรือจำกัดการบริโภคไขมัน เพื่อลดภาวะอ้วนในผู้สูงอายุ
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุไม่อยู่ในภาวะอ้วน เกณฑ์การประเมินผล -ค่า BMI ลดลงจากเดิม -ลักษณะรูปร่างผอมลงจากเดิม
พูดเสียงปกติไม่ค่อยได้ยิน
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory) เนื่องจากประสาทรับเสียงในหูชั้นในเสื่อมจากอายุที่มากขึ้น จึงทำให้ผู้สูงอายุรายนี้มีการได้ยินที่ไม่ค่อยชัดเจน
ผู้สูงอายุมีภาวะหูตึง เนื่องจากพูดด้วย น้ำเสียงปกติ ไม่ค่อยได้ยิน ข้อมูลสนบสนุน S -ผู้สูงอายุบอกว่าพูดคุยกับคนอื่นไม่ค่อยได้ยิน O -พูดด้วยน้ำเสียงปกติได้ยินไม่ชัดเจน
กิจกรรมการพยาบาล -อธิบายเกี่ยวกับการได้ยินไม่ชัดเจนของผู้สูงอายุให้ครอบครัวและคนรอบข้างของตัวผู้สูงอายุได้เข้าใจ เพื่อให้ครอบครัวและคนรอบข้างจะได้เข้าใจตัวผู้สูงอายุมากขึ้น -แนะนำเกี่ยวกับการใช้น้ำเสียงในการพูดคุยกับผู้สูงอายุ เพื่อไม่ให้เกิดการเข้าใจ ผิดกันเกิดขึ้นเนื่องจากการพูดเสียงดังจนเกินไป จนทำให้ผู้สูงอายุคิดว่าตะคอกใส่ -ประสานงานกับ อสม. หรือครอบครัวจัดหาเครื่องช่วยฟัง เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการได้ยินที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุมีประสิทธิภาพการฟังที่ดีขึ้น เกณฑ์การประเมินผล -ได้ยินเสียงผู้อื่นมากขึ้น -พูดคุยกับคนอื่นได้ดีขึ้น
ย่น
ขุย
กละ
แห้ง
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross-linking theory) เมื่ออายุมากขึ้นเนื้อเยื่อคอลลาเจนและอิลาสตินจะมีการเชื่อมตามขวางมากขึ้นทําให้สูญเสียความยืดหยุ่น มีลักษณะแข็งแตกและฉกขาดง่ายขึ้น ก่อให้เกิดผลต่อการซึมผ่านของสารที่เยื่อเอ็นจะแข็งและแห้งผิวหนังแหงเหี่ยว
ผู้สูงอายุมีผิวหนังที่แห้ง ไม่ชุ่มชื้น เนื่องจากขาดการดูแลและบำรุงผิว ข้อมูลสนับสนุน S -ผู้สูงอายุบอกว่าผิวแห้ง O –ทบสอบดู ผู้สูงอายุมีผิวแห้ง เป็นขุยๆเล็กน้อย
กิจกรรมการพยาบาล -แนะนำให้ผู้สูงอายุใช้สบู่หรือครีมอาบน้ำที่ไม่ทำลายผิว เพื่อป้องกันผิวหนัง -แนะนำให้ผู้สูงอายุทาออยด์หรือโลชั่นหลังจากอาบน้ำเสร็จ เพื่อให้ผิวชุ่มชื้น -แนะนำให้ผู้สูงอายุดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้วเพื่อทำให้ผิวชุ่มชื้นไม่แห้งกร้าน -การใช้ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการดูแลและบำรุงผิวหนัง ได้แก่ โลชั่นหรือครีม ใช้ทาบริเวณผิวหนัง โดยเป้าหมาย เพื่อป้องกันหรือบรรเทาความแห้งของผิวหนัง เนื่องจากสามารถเพิ่มปริมาณน้ำแก่ผิวหนังชั้น สตาตัมคอร์เนียม ทำให้ผิวหนังมีความเนียนนุ่ม ชุ่มชื้น เป็นการช่วยส่งเสริมความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของ ผิวหนัง
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุมีผิวหยังที่ชุ่มชื้น ไม่แห้ง กร้าน เกณฑ์การประเมินผล -ความชุ่มชื้นของผิวหนังเพิ่มขึ้น -ผิวหนังไม่เป็นขุยๆ
ทฤษฎีการสะสม (Accumulative theory) เกิดจากการรับประทานอาหารจำพวกไขมัน(มันหมู) เป็นคอเลสเตอรอลที่ไปสะสมในผนังหลอดเลือด
ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการเกิดภาวะไขมันใน เลือดสูงเนื่องจากภาวะอ้วน ข้อมูลสนับสนุน S -ผู้สูงอายุบอกว่าอ้วน -ชอบทานไขมันจากสัตว์ O -ผู้สูงอายุมีลักษณะรูปร่างอ้วน -ค่า BMI ของผู้สูงอายุเท่ากับ 25.56 แปลผล อยู่ในเกณฑ์อ้วน -ไม่ออกกำลังกาย -ชอบทานไขมันจากสัตว์
กิจกรรมการพยาบาล -บอกให้ผู้สูงอายุทราบถึงโรคแทรกซ้อนที่จะตามมา เพื่อให้ผู้สูงอายุตะหนักถึงภาวะไขมันสูง -แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการออกกำลังกายไม่เหมาะสมกับวัย -แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่ไม่มี ไขมันหรือจำกัดการบริโภคไขมัน เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะไขมันในเลือดสูงในผู้สูงอายุ -หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง เช่นเครื่องในสัตว์ ไข่แดง หนังเป็ด หนังไก่ หอย ปู กุ้ง ปลาหมึก มันหมู มะพร้าว อาหารที่มีกะทิและถ้าหากมีไตรกลีเซอไรด์สูงด้วย ก็ควรระวังอาหารพวกแป้ง นํ้าตาล เครื่องดื่มที่มีรสหวานและผลไม้หวานจัด -รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เช่น เนื้อปลา เนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมันและนมพร่องมันเนย เป็นต้น -รับประทานอาหารที่เส้นใยมากๆ เช่น ผัก ผลไม้
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิด ไขมันมันในเลือด เกณฑ์การประเมินผล -ค่า BMI ลดลงจากเดิม -ลักษณะรูปร่างผอมลงจากเดิม -ทานไขมันจากสัตว์ลดลงหรือไม่รับประทานเลย