Categories: All

by Juthamat Thongsong 4 years ago

467

บทที่ 12 การผลิตลูกผสมในพืชผสมข้าม

การผลิตลูกผสมในพืชเกี่ยวข้องกับการเลือกและการผสมผสานสายพันธุ์ต่างๆ ที่มีคุณสมบัติที่ต้องการเพื่อนำมาผลิตพันธุ์ใหม่ที่มีคุณภาพสูง การผลิตลูกผสมสามารถแบ่งเป็นหลายประเภท เช่น ลูกผสมเดี่ยว ลูกผสมคู่ ลูกผสมสามทาง และลูกผสมระหว่างสายพันธุ์ การทดสอบสมรรถนะการรวมตัวทั่วไปและเฉพาะเป็นขั้นตอนสำคัญในการประเมินความสามารถของสายพันธุ์ในการรวมตัวกันเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีที่สุด สายพันธุ์ที่ใช้ในการผลิตลูกผสมประกอบด้วยสายพันธุ์เอ สายพันธุ์บี และสายพันธุ์ซี โดยแต่ละสายพันธุ์มีบทบาทเฉพาะในกระบวนการผสมพันธุ์ นอกจากนี้ยังมีการควบคุมการเป็นหมันโดยยีนและไซโตพลาสซึมเพื่อให้ได้สายพันธุ์ที่มีคุณภาพสูงและตรงตามความต้องการ การผสมพันธุ์ยังสามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น การผสมแบบพบกันหมดและการผสมกับพันธุ์ทดสอบ เพื่อประเมินความสามารถในการรวมตัวของสายพันธุ์ต่างๆ

บทที่ 12 การผลิตลูกผสมในพืชผสมข้าม

บทที่ 12 การผลิตลูกผสมในพืชผสมข้าม

สายพันธุ์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตลูกผสม

3.สายพันธุ์ซี (C line)
เป็นสายพันธุ์พ่อ มียีโนไทพ์ MsMs, F(msms) และ F(MsMs) หรือ S(MsMs)
2.สายพันธุ์บี (B line)
เป็นตัวรักษาสายพันธุ์เอ (maintainer line) มียีโนไทพ์ Msms และ F(msms) เมื่อ F แทนไซโตพลาสซึมปกติ
1.สายพันธุ์เอ (A line)
ข. การเป็นหมันควบคุมโดยยีนและไซโตพลาสซึมมียีนโนไทพ์ S (msms) เมื่อ S แทนไซโตพลาสซึมที่ทำให้เป็นหมัน
ก. การเป็นหมันควบคุมโดยยีน มียีโนไทพ์ msms

การผลิตลูกผสมเป็นการค้า

(2) การผลิตลูกผสม
ค.การผลิตลูกผสมคู่

การใช้การเป็นหมันของดอกตัวผู้

(3) ใช้สายพันธุ์ที่เป็นหมัน 2 สายพันธุ์ สายพันธุ์หนึ่งมียีนแก้การเป็นหมัน

(2) ใช้สายพันธุ์เป็นหมันหนึ่งสายพันธุ์และสายพันธุ์อื่นที่มียีนแก้การเป็นหมัน

(1) ใช้สายพันธุ์เป็นหมันเพียงสายพันธุ์เดียวและไม่มียีนแก้การเป็นหมัน

ข.การผลิตลูกผสมสามทาง
ก.การผลิตลูกผสมเดี่ยว
(1) การถ่ายทอดการเป็นหมันของดอกตัวผู้ให้แก่สายพันธุ์

การผลิตลูกผสมในพืชผสมตัวเอง

ข้าวฟ่างคาเฟอร์ (Kafir) มีไซโตพลาสซึมปกติ มียีนควบคุมการเป็นหมัน คือมียีโนไทพ์ F(msms) (สายพันธุ์-บี)
ในปี ค.ศ. 1950 มีการพบไซโตพลาสซึมเป็นหมัน ในข้าวฟ่างไมโล (milo) แต่ไมโลไม่เป็นหมัน เพราะมียีโนไทพ์ S(MsMs) (สายพันธุ์-เอ)

การทดสอบสายพันธุ์

2. การทดสอบสมรรถนะการรวมตัวเฉพาะ (specific combining ability, sca)
การที่พืชสายพันธุ์หนึ่งเมื่อผสมกับอีกสายพันธุ์หนึ่งแล้ว ให้ผลผลิตสูง หรือ ให้ผลดีกว่าค่าเฉลี่ยเมื่อผสมกับ สายพันธุ์อื่นๆ หลายสายพันธุ์
1. การทดสอบสมรรถนะการรวมตัวทั่วไป (general combining ability, gca)
ข. การผสมกับพันธุ์ทดสอบ (top cross)

คุณสมบัติของพันธุ์ทดสอบ

4) สามารถเรียงลำดับสายพันธุ์ได้ถูกต้อง ตามความสามารถของสายพันธุ์ที่เข้าทดสอบ

3) ควรมีอัตราส่วนของยีนด้อยสูง

2) สามารถทำให้สายพันธุ์แสดงความแตกต่างกันได้อย่างชัดเจน

1) สามารถแสดงคุณสมบัติของสายพันธุ์ได้ถูกต้อง ตรงกับความเป็นจริง

พันธุ์ผสมเปิด พันธุ์สังเคราะห์ ลูกผสมคู่ x ลูกผสมคู่

ก. การผสมแบบพบกันหมด (diallel cross)

มี 4 สายพันธุ์ คือ พันธุ์ A, B, C, และ D จะผลิตลูกผสมเดี่ยวได้ 6 ชุด คือ A x B, A x C, A x D, B x C, B x D, C x D

การผลิตสายพันธุ์

2) วิธีเพิ่มยีโนมของพวกโมโนพลอยด์ (monoploid)
ค.เพิ่มจำนวนโครโมโซมให้เป็น 2 เท่า (ใช้สารละลาย colchicine)
ข.นำเมล็ดโมโนพลอยด์ไปปลูก คัดเลือกไว้เฉพาะต้นที่ต้องการ
ก.ผลิตเมล็ดที่เป็นโมโนพลอยด์
1) วิธีมาตรฐาน
ค. ปลูกเมล็ด S2 แบบต้น/แถว ทำการคัดเลือก
ข. ปลูกเมล็ด S1 แบบต้น/แถว เลือกแถวที่ดี ต้นที่ดี ก่อนหรือหลังผสมพันธุ์ก็ได้
ก. ผสมตัวเองพืชที่จะคัดเลือก

เก็บเกี่ยวเมล็ด S1 เลือกต้นที่ดีๆ และบันทึกประวัติ

ขั้นตอนการผลิตพันธุ์ลูกผสม

6) ทำการปรับปรุงสายพันธุ์
5) ถ่ายทอดลักษณะตัวผู้เป็นหมันแก่สายพันธุ์ที่ใช้เป็นแม่
4) ทดลองผลิตลูกผสมแล้วทดสอบ
3) ทดสอบสายพันธุ์
2) ผลิตสายพันธุ์
1) จัดหาแหล่งผลิตสายพันธุ์

ชนิดของพันธุ์ลูกผสม

6. ลูกผสมระหว่างสายพันธุ์ (multiple cross)
5. ลูกผสมคู่ (double cross)
การผสมระหว่าง (A x B) x (C x D)
4. ลูกผสมสามทาง (three way cross)
ลูกผสม (A x B) x C
3. ลูกผสมเดี่ยวแบบประยุกต์ (modified single cross)
การผสมระหว่าง(A1 x A2) x B
2. ลูกผสมเดี่ยว (single cross)
การผสมระหว่าง A x B
1. ลูกผสมระหว่างสายพันธุ์กับพันธุ์ผสมเปิด หรือทอพครอส (top cross)
การผสมระหว่างสายพันธุ์ x พันธุ์ผสมเปิด
การผสมระหว่างลูกผสมเดี่ยว x พันธุ์ผสมเปิด