Categories: All - การสืบค้น - เทคนิค - ข้อมูล

by mannika kaewjaranai 4 years ago

307

การสืบค้นสา 2

การสืบค้นสารสนเทศเป็นกระบวนการที่ต้องใช้เทคนิคหลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการมากที่สุด เทคนิคการสืบค้นแบบพื้นฐานรวมถึงการใช้คำโดดหรือคำผสมในการค้นหาหัวเรื่อง ชื่อผู้แต่ง คำสำคัญ และชื่อเรื่อง ในขณะที่การสืบค้นขั้นสูงจะซับซ้อนมากขึ้นและให้ผลลัพธ์ที่แม่นยำกว่า โดยใช้เทคนิคเช่นภาษาธรรมชาติ การตัดคำ การจำกัดคำค้น และตรรกบูลีน ซึ่งสามารถใช้คำเชื่อมต่างๆ เช่น and, or, not เพื่อปรับขอบเขตการค้นหา นอกจากนี้ยังมีการใช้ตัวอักษรใหญ่และเล็กที่ต่างกันในการค้นหาเพื่อเพิ่มความละเอียดในการสืบค้น ทั้งนี้ทั้งนั้น การเลือกใช้เทคนิคที่เหมาะสมจะช่วยให้การค้นหาสารสนเทศมีประสิทธิภาพและตรงกับความต้องการของผู้ค้นหามากที่สุด

การสืบค้นสา 2

การสืบค้นสารความรู้

โปรแกรมการสืบค้น (Search Engine)

เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้สืบค้นข้อมูลและสารสนเทศแบ่งได้ 3 ประเภท ดังนี้
3.Meta Search Engine

Oneseek

MetaCrawler

Dogpile

Ask

All4one

2.กลไกการสืบค้น (Web Search Engine) เป็นเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศที่อาศัยการทำงานของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น

Web Crawlar

Lycos

Hotbot

Excite

Altvista

1.นามานุกรม (Web Directories) เป็นเครื่องมือแยกตามสาขาวิชา

Yahoo

Web Crawler

Thaiseek

Sanook

Siamguru

Google

ASK

เทคนิคที่ควรรู้ในการสืบค้นสารสนเทศ

เทคนิคการสืบค้น หมายถึง วิธีการต่างๆที่ใช้ในการสร้างประโยคในการสืบค้นหรือการกำหนดคำค้นเพื่อให้เข้าถึงสารสนเทศที่ตรงกับความต้องการให้มากที่สุด
2.การสืบค้นขั้นสูง (Advanced Search)คือการสร้างประโยคคำค้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นทำให้เราได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น ซึ่งมีเทคนิคในการสืบค้น ดังนี้

ภาษาธรรมชาติ ( Natural Language ) เป็นการสืบค้นจากคำถามที่เป็นภาษาธรรมชาติ เช่น ใช้คำถามภาษาอังกฤษง่าย ๆ ที่ต้องการใช้ Search Engine หาคำตอบให้ เช่น What is Research ?

ตัวใหญ่ตัวเล็กต่างกัน ( Case sensitive ) เป็นการใช้ตัวอักษรใหญ่กับตัวเล็กในความหมายที่แตกต่างกัน เช่น ใช้ตัวอักษรใหญขึ้นต้นชื่อเฉพาะ เช่น Tomson W.Mark

เขตข้อมูลการค้น ( Field Searching ) เป็นการกำหนดเขตข้อมูลเพื่อการค้น เช่น ชนิดของข้อมูลหรือที่อยู่ของข้อมูล เช่น text: “green tea” URL: NASA

คำพ้องความหมาย ( Synonym ) เป็นการใช้คำเหมือนความหมายเดียวกันหรือใกล้เคียงกันเพื่อช่วยให้ค้นเรื่องได้ควบคลุม เช่น Ocean Sea

การจำกัดตัดคำ ( Limit Search ) เป็นการจำกัดคำค้นให้แคบลงโดยกำหนดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการสืบค้นร่วมกับคำค้น เช่น ( = ) , ( < ) , ( > )

การตัดคำ (Truncation) ช่วยให้ได้ข้อมูลที่กว้างขึ้นควบคลุมมากขึ้นโดยละข้อข้อความบางส่วนของคำและใช้สัญลักษณ์แทน เช่น # หรือ ? หรือ $

ตรรกบูลีน (Boolean Logic) ได้แก่ and,or,not

not (- ) ใช้เพื่อจำกัดขอบเขตการค้นให้แคบลงใช้ในกรณีที่ต้องการให้ผลการสืบค้นตัดเรื่องที่ไม่ต้องการออก

or ( , ) ขยายขอบเขตของการค้นให้กว้างขึ้นให้ผลลัพธ์ มีเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่กำหนดในคำค้น

and ( + ) ใช้เชื่อมคำค้นกรณีที่ต้องการให้ผลลัพธ์ มีทุกเรื่องที่กำหนดในคำค้น

1.เทคนิคการสืบค้นแบบพื้นฐาน (Basic Search) คือการสืบค้นโดยคำโดดหรือคำผสมเพียง 1 คำ ไม่ซับซ้อนซึ่งมีขอบเขตการสืบค้น ได้แก่

คำสำคัญ (Keyword) เป็นการค้นหาคำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมาทั่วไปจะมีลักษณะสั้นกระทัดรัดเป็นคำถามหรือคำที่มีความหมาย

หัวเรื่อง (Subject headings) เป็นการค้นหาคำวลีที่กำหนดขึ้นแทนเนื้อหาของหนังสือหรือบทความหรือทรัพยากรสารสนเทศ

ชื่อเรื่อง (Title) เป็นการค้นหา ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ชื่อทรัพยากรสารสนเทศ

ชื่อผู้แต่ง (Arthur) เป็นการค้นหา ชื่อบุคคล กลุ่มบุคคล หน่วยงาน องค์กรที่แต่งหรือเขียนหนังสือบทความนั้นๆ

ทักษะที่จำเป็นสำหรับการสืบค้นสารสนเทศ

ผู้สืบค้นสารสนเทศต้องมีความรู้และทักษะในด้านต่างๆ ดังนี้
4.ผู้สืบค้นต้องรู้ถึงบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การให้บริการบนอินเทอร์เน็ต ได้แก่

File Transfer Protocol (FTP)

Gopher News Group

WWW.

3.ทักษะการใช้อุปกรณ์ในการสืบค้นสารสนเทศ ได้แก่

การ์ดแลน

โมเด็ม

คอมพิวเตอร์

2.ทักษะการจำแนกประเภทของสารสนเทศ

สารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตแสดงได้หลายรูปแบบ เช่น ข้อความ ภาพวาด มัลติมีเดีย บางรูปแบบต้องใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการแสดงผล เช่น Adobe Acrobat เพื่อใช้แสดงข้อมูลที่แปลงเป็น PDF File เป็นต้น

1.กำหนดวัตถุประสงค์ในการสืบค้น ผู้สืบค้นต้องมีทักษะในการกำหนดวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนเพื่อประโยชน์ ดังนี้

ช่วยให้กำหนด Search Engine ได้

ประหยัดเวลาในการสืบค้น

ทำให้ได้สารสนเทศที่ตรงและน่าเชื่อถือ

ช่วยให้กำหนดขอบเขตการค้นหาให้แคบลง