Categories: All - รายงาน - ประเมิน - คุณภาพ

by 044รุสนี สาเล็ง 2 years ago

135

มาตรฐานงานที่ให้ความเชื่อมั่น รหัส 3000(การควบคุมคุณภาพ)อ้างอิง:http://www.tfac.or.th/upload/9414/Dt3CtO9DB4.pdf

การควบคุมคุณภาพในงานที่ให้ความเชื่อมั่นเป็นกระบวนการสำคัญที่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนด หัวหน้าผู้รับผิดชอบงานจำเป็นต้องมีความรู้และทักษะที่เพียงพอ รวมถึงการปรึกษาหารือกับผู้สอบทานการควบคุมคุณภาพเพื่อให้มั่นใจว่าการดำเนินงานเป็นไปตามข้อกำหนด การสอบทานนี้รวมถึงการประเมินวัตถุประสงค์และการใช้ดุลยพินิจอย่างมีนัยสำคัญของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน การมอบหมายงานต้องเป็นไปอย่างรอบคอบและมีการประเมินผลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ถูกต้องและเหมาะสมในการจัดทำรายงาน การปฏิบัติงานที่ได้รับการพัฒนาจากการฝึกอบรมและการนำไปใช้ปฏิบัติจริงจะช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นในคุณภาพของงานและการควบคุมคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ

มาตรฐานงานที่ให้ความเชื่อมั่น รหัส 3000(การควบคุมคุณภาพ)อ้างอิง:http://www.tfac.or.th/upload/9414/Dt3CtO9DB4.pdf

มาตรฐานงานที่ให้ความเชื่อมั่น รหัส 3000 (การควบคุมคุณภาพ) อ้างอิง:http://www.tfac.or.th/upload/9414/Dt3CtO9DB4.pdf

การมอบหมายงานกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน

การสอบทานการควบคุมคุณภาพงานที่ให้ความเชื่อมั่น

ผู้สอบทานการควบคุมคุณภาพงานต้องประเมินวัตถุประสงค์ของการใช้ดุลยพินิจที่มีนัยสำคัญของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน และข้อสรุปที่ได้เพื่อจัดทำรายงานที่ให้ความเชื่อมั่นการประเมินดังกล่าวต้องรวมถึง
(4) การประเมินข้อสรุปที่ใช้ในการน าเสนอรายงานที่ให้ความเชื่อมั่นและการพิจารณาว่าร่างรายงานที่ให้ความเชื่อมั่นเหมาะสมหรือไม่
(3) การสอบทานเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการใช้ดุลยพินิจอย่างมีนัยสำคัญของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานและข้อสรุปที่ได้
(2) การสอบทานข้อมูลที่ให้ความเชื่อมั่นและร่างรายงานที่ให้ความเชื่อมั่น
(1) การปรึกษาหารือเรื่องต่างๆ ที่สำคัญกับหัวหน้าผู้รับผิดชอบงาน
36. สำหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่นซึ่งกำหนดให้มีการสอบทานการควบคุมคุณภาพโดยกฎหมายหรือข้อบังคับ (ถ้ามี) หรืองานที่ให้ความเชื่อมั่นซึ่งสำนักงานกำหนดให้มีการสอบทานการควบคุมคุณภาพ
หัวหน้าผู้รับผิดชอบงานต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการปรึกษาหารือเรื่องที่สำคัญที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงานกับผู้สอบทานการควบคุมคุณภาพงาน และไม่ลงวันที่ในรายงานที่ให้ความเชื่อมั่นจนกว่าการสอบทานจะสิ้นสุดสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ลักษณะของหัวหน้าผู้รับผิดชอบงาน

35. หัวหน้าผู้รับผิดชอบงานต้องพิจารณาผลลัพธ์ของกระบวนการติดตามผลของสำนักงานซึ่งได้มาจากข้อมูลล่าสุดที่มีการเวียนภายในสำนักงานและสำนักงานเครือข่าย (กรณีที่มี) และพิจารณาว่าข้อบกพร่องที่แสดงไว้ในข้อมูลนั้นอาจส่งผลกระทบต่องานที่ให้ความเชื่อมั่นหรือไม่
34.ตลอดการให้บริการงานที่ให้ความเชื่อมั่นหัวหน้าผู้รับผิดชอบงานต้องตื่นตัวโดยการสังเกตการณ์และสอบถามตามความจำเป็นเพื่อหาหลักฐานเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน หากระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานนำประเด็นมาสู่ความสนใจของหัวหน้าผู้รับผิดชอบงานหรือประเด็นซึ่งบ่งชี้ว่ากลุ่มผู้ปฏิบัติงานไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องหัวหน้าผู้รับผิดชอบงานต้องปรึกษาหารือกับผู้ปฏิบัติงานอื่นในสำนักงานและต้องตัดสินใจกระทำการตามความเหมาะสม
33. หัวหน้าผู้รับผิดชอบงานต้องรับผิดชอบต่อคุณภาพโดยรวมของงานที่ให้ความเชื่อมั่นความรับผิดชอบดังกล่าวมีดังนี้
การปรึกษาหารืออย่างเหมาะสมกับกลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่ให้ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับเรื่องที่มีความยากหรือข้อขัดแย้ง
มีการรวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบงานที่เหมาะสมเพื่อเป็นหลักฐานว่าผู้ประกอบวิชาชีพบรรลุวัตถุประสงค์ของงาน และงานที่ให้ความเชื่อมั่นนั้นได้รับการปฏิบัติตามมาตรฐานงานที่ให้ความเชื่อมั่น ตลอดจนกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง
การสอบทานตามนโยบายและวิธีปฏิบัติงานสอบทานของสำนักงาน และการสอบทานเอกสารหลักฐานของงานที่ทำในวันที่หรือก่อนวันที่ในรายงานที่ให้ความเชื่อมั่น
การวางแผนและการปฏิบัติงานที่ให้ความเชื่อมั่น (รวมถึงทิศทางและการควบคุมดูแลที่เหมาะสม) ตามมาตรฐานทางวิชาชีพและกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
การปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมในการตอบรับงานและการรับงานต่อเนื่องการคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์กับลูกค้าและงานที่ให้ความเชื่อมั่น
32. หัวหน้าผู้รับผิดชอบงานต้อง
พอใจว่าผู้ประกอบวิชาชีพสามารถนำเอาผลงานของ

ผู้ประกอบวิชาชีพอื่นที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่ให้ความเชื่อมั่นในกรณีที่ผลงานของผู้ประกอบวิชาชีพนั้นถูกนำมาใช้

ผู้เชี่ยวชาญของผู้ประกอบวิชาชีพซึ่งผลงานของผู้เชี่ยวชาญนั้นถูกนำมาใช้

พอใจว่ากลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติงานโดยรวมมีความรู้ความสามารถที่เหมาะสมในการ

สามารถออกรายงานที่ให้ความเชื่อมั่นที่เหมาะสมในสถานการณ์

ปฏิบัติงานที่ให้ความเชื่อมั่นตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง และตามข้อกำหนดทางกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

31. หัวหน้าผู้รับผิดชอบงานต้อง
มีความรู้ความสามารถอย่างเพียงพอในเรื่องที่ให้ความเชื่อมั่นนั้น การวัดผลและการประเมินผลเพื่อที่จะมีความรับผิดชอบในการให้ข้อสรุปจากการให้ความเชื่อมั่น
มีความรู้ความสามารถในทักษะและเทคนิคสำหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่นที่ได้รับการพัฒนาจากการฝึกอบรมอย่างกว้างขวางและการนำไปใช้ปฏิบัติ
เป็นสมาชิกของสำนักงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ ฉบับที่ 1 หรือข้อกำหนดทางวิชาชีพอื่น หรือข้อกำหนดตามกฎหมายและข้อบังคับที่อย่างน้อยต้องเป็นไปตามที่มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ