Categories: All - ทฤษฎี - กระบวนการ - วัตถุประสงค์ - การวิจัย

by Tidarat Baroman 5 years ago

282

ความรู้พื้นฐานวิจัย

การวิจัยมีบทบาทสำคัญในการแก้ปัญหาและพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ โดยมุ่งเน้นที่การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล การวิจัยยังส่งผลให้เกิดข้อสรุปและทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้อ้างอิงหรือคาดการณ์ในอนาคตได้ กระบวนการวิจัยต้องอาศัยการสังเกตที่ถูกต้องและชัดเจน โดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์และเครื่องมือวิจัยที่เหมาะสม การรวบรวมข้อมูลสามารถทำได้ทั้งจากแหล่งปฐมภูมิและข้อมูลที่มีอยู่แล้ว แต่งานวิจัยต้องมีระบบและวิธีการที่ถูกต้องและชัดเจน ผู้วิจัยต้องมีความรู้และความชำนาญในเรื่องที่ตนวิจัย รวมถึงการกำหนดวัตถุประสงค์ที่สามารถทดสอบได้และไม่มีอคติ งานวิจัยยังต้องการความอดทนและยอมรับอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินการเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่มีประสิทธิภาพและเป็นจริง

ความรู้พื้นฐานวิจัย

ความรู้พื้นฐานวิจัย

4. คุณลักษณะของการวิจัย

4.1 การวิจัย เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย ที่เป็นการค้น ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล 4.2 การวิจัย เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถน าไปใช้อ้างอิงหรือ คาดการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต 4.3 การวิจัย มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จากการสังเกต หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical) ดังนั้นในบางค าถามที่น่าสนใจไม่สามารถที่จะน ามาด าเนินการ วิจัยได้ เพราะไม่สามารถสังเกตหรือแสวงหาข้อมูลเชิงประจักษ์ได้ 4.4 การวิจัยจ าเป็นจะต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน โดยใช้เครื่องมือในการวิจัยเชิงปริมาณหรือวิธีการของการวิจัยเชิงคุณภาพ 4.5 การวิจัย เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วใน การตอบค าถามตามจุดประสงค์ใหม่ ไม่ใช่เป็นการจัดระบบใหม่ (Reorganizing) โดยการน าข้อมูล ที่ ผู้อื่นค้นพบแล้วมาสรุปอีกครั้งหนึ่ง เพราะท าให้ไม่ได้รับความรู้ใหม่ ๆ 4.6 การวิจัยจะต้องมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย และการวิเคราะห์ที่ถูกต้อง ชัดเจน ที่ จะท าให้ได้ข้อสรุปการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ 4.7 การวิจัย จะต้องเป็นการด าเนินการโดยใช้ความรู้ความช านาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้ ปัญหาที่ตนเองจะท าวิจัย และปัญหาดังกล่าวมีบุคคลใดประเด็นใดที่ได้ท าวิจัยไปแล้วบ้าง รวมทั้ง เรียนรู้ ค าศัพท์เฉพาะที่ใช้ ความคิดรวบยอดและทักษะทางเทคนิค ที่จะสามารถน ามาใช้ใน การ วิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง 4.8 การวิจัย จะต้องก าหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถ ทดสอบได้และวิธีการที่เหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นจริง มีเหตุผล และจะต้องไม่มีอคติของผู้วิจัย มาเกี่ยวข้อง 3Foundation of Research 5 4.9 งานวิจัย จะต้องเป็นการด าเนินการแสวงหาค าตอบที่น ามาใช้ตอบค าถามของปัญหาที่ ยัง ไม่สามารถแก้ไขได้ 4.10 การวิจัย เป็นกิจกรรมที่จะต้องด าเนินการด้วยความอดทน ไม่เร่งรีบ และจะต้อง ยอมรับ/เผชิญอุปสรรคในวิธีการได้มาของค าตอบในการวิจัย 4.11 การวิจัย จะต้องมีการจดบันทึกข้อมูล และจัดท ารายงานการวิจัยด้วยความระมัดระวัง ในการใช้ค าที่มีความหมาย วิธีการด าเนินการวิจัย หรือการอ้างอิงข้อมูลที่ได้น ามากล่าวอ้างอิงอย่าง ถูกต้อง
สรุปได้ว่า การวิจัย เป็นวิธีการ ๆ หนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความ จริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจน และมีการก าหนดจุดมุ่งหมายของการ วิจัย ในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร ที่ผู้วิจัยจะใช้เป็นแนวทางในการแสวงหาค าตอบ เพื่อใช้ อธิบาย พยากรณ์ และควบคุมปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ

5. ธรรมชาติของการวิจัย

5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ 5.2 การวิจัยเป็นการด าเนินการที่เป็นระบบ 5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน 5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity) 5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability) 5.6 การวิจัยมีเหตุผล 5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา 5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ 5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย 5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย

6. ประเภทของการวิจัย

6.7 ประเภทของการวิจัยจ าแนกตามการจัดกระท า จ าแนกเป็น 3 ลักษณะ 6.7.1 การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น(Pre Experimental Research) 6.7.2 การวิจัยกึ่งทดลอง(Quasi Experimental Research) 6.7.3 การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง(True Experimental Research)
6.6 จ าแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย จ าแนกเป็น 3 ลักษณะ 6.6.1 การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร(Descriptive-Oriented Research) 6.6.2 การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร(Correlation-Oriented Research) 6.6.3 การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร(Causal-Oriented Research
6.5 จ าแนกตามเวลาที่ใช้ในการท าวิจัย จ าแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 6.5.1 การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น(Cross-section Research) 6.5.2 การวิจัยแบบต่อเนื่อง (Longitudinal Research)
6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์ จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้ 6.4.1 การวิจัยทางวิทยาศาสตร์(Scientific Research) 6.4.2 การวิจัยทางสังคมศาสตร์(Social Research)
6.3 จ าแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology) จำแนกได้2 ลักษณะ 6.3.1การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์(Historical Research) 6.3.2 การวิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research)
6.2 จ าแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี 6.2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) 6.2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research)
6.1 จ าแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้ 6.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์(Basic Research or Pure Research) 6.1.2 การวิจัยการนำไปใช้(Applied Research)

3. แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ(Probabilistic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ในปรากฏการณ์ ใด ๆ นั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่ มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง
3.4 กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ(Principle Component of Nature) เป็นแนวคิดที่ ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปร อื่นๆ ที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ ๆ
3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ(Associative Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ใน การเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกันนั้น จะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและตัวแปร ผลที่แตกต่างกัน
3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ(Systematic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของ ตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน เพื่อที่ผู้วิจัยจะได้น ารูปแบบ ดังกล่าวไปใช้อธิบายในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น โดยทั่ว ๆ ไปได้
3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ(Deterministic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ หรือ เมื่อก าหนดสถานการณ์ใด ๆ ที่เป็นสาเหตุย่อมจะหาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้เช่นเดียวกัน

2.จุดมั่งหมายของวิจัย

2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล โดย ที่ปัญหาในบางปัญหาไม่สามารถทำการวิจัยได้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้
2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต หรือเป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อที่น าผลสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากร
2.1 เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา โดยศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรที่มีความเป็นเหตุและเป็นผลซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน

1.ความหมายของวิจัย

สรุปได้ว่าการวิจัย เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจาก อคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนำมาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง เพื่อนำไปใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏี หรือนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่าง ถูกต้อง แม่นยำและเชื่อถือได้
การวิจัย หมายถึง การศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์หรือทดลองอย่างมีระบบ โดยใช้อุปกรณ์หรือ วิธีการ เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง หรือค้นหาหลักการสำหรับนำไปใช้ตั้งกฎ ทฤษฏี หรือแนวทางปฏิบัติ การวิจัย เป็นกระบวนการค้นหาข้อเท็จจริง หรือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างมีระบบ ระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนเพื่อให้ได้ความรู้ที่เชื่อถือได