บทที่ 4
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
แบบแสดงรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
1. ภ.ง.ด.53
2. ภ.ง.ด.54
ส่วน ก
ใช้สำหรับม.40(4)-(8)
ม.40(2)(3)(4)
(5) หรือ (6)
ภ.ง.ด.3
ใช้สำหรับม.40(5)(6)(7)
หรือ(8) ไม่ว่าผู้มีเงินได้จะอยู่
ในประเทศไทยหรือไม่ก็ตาม
ภ.ง.ด.2
ใช้สำหรับม.40(3) และ
(4) (ก) ถึง (ช)
ภ.ง.ด.1
ใช้สำหรับ ม.40(1)
วัตถุประสงค์ของการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
เพื่อเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบผู้มีเงินได้ว่าได้เสียภาษีครบถ้วนถูกต้องหรือไม่
เพื่อลดแรงกดดันในการหลีกเลี่ยงภาษี
ห้รัฐบาลมีรายได้เข้าคลังอย่างสมํ่าเสมอ
เพื่อบรรเทาภาระการเสียภาษี
หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่าย
ต้องเป็นการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามความหมายที่กําหนดไว้ในมาตรา 39
ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย
2. มาตรา 3 เตรส
ค่าขนส่ง
อัตารภาษี 1.0
ค่าโฆษณา
อัตารภาษี 2.0
ค่านักแสดงสาธารณะ
รางวัลในการประกวด การแข่งขัน การชิงโชค
หรือการอื่นใดอันมีลักษณะทํานองเดียวกัน
อัตารภาษี 5.0
ค่าจ้างทําของตามมาตรา 40(7) และ มาตรา
40(8)
อัตารภาษี 0.3
ค่าเช่าหรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้จากการให้เช่า
ทรัพย์สินตามมาตรา 40(5)(ก)
อัตารภาษี 0.5
1. มาตรา 50
1.1 กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 และ 2
1.10) กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินที่คนต่างด้าวได้รับเนื่องจากการจ้างแรงงานของ
สํานักงานปฏิบัติการภูมิภาค
1.9) กรณีเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 นอกจากเงินที่นายจ้างให้ครั ้งเดียวเพราะเหตุออก
จากงาน ที่จ่ายให้แก่ผู้รับซึ่งมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย
1.8) กรณีจ่ายเงินได้ให้กับลูกจ้างรายวัน
1.7) กรณีเงินได้ที่นายจ้างจ่ายให้ครั ้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน
1.6) กรณีนายจ้างออกเงินค่าภาษีแทนให้ลูกจ้าง สําหรับเงินเดือนหรือค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับในปีใดโดยลูกจ้างไม่ต้องรับภาระในการเสียภาษีด้วยตนเอง
1.5) กรณีนายจ้างออกเงินค่าภาษีแทนให้ลูกจ้าง สําหรับเงินเดือนหรือค่าจ้างเป็นจํานวนที่แน่นอน
1.4) กรณีมีจํานวนคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินไม่สมํ่าเสมอตลอดปีภาษี
1.3) กรณีมีการจ่ายเงินพิเศษเป็นครั้งคราวระหว่างปี
1.2) กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงจํานวนเงินได้พึงประเมินที่จ่ายระหว่างปี
1.1) กรณีปกติทั่วไป
ประเภทของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
2. ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย
1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย