Categories: All - อาการ

by Panu Siri 4 months ago

70

คัมภีร์มัชชุสาระวิเชียร

การดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรเป็นแนวทางที่มีมาแต่โบราณ โดยเฉพาะในการรักษาโรคลมและโรคปัสสาวะหลายชนิด สูตรยาบางชนิดประกอบด้วยสมุนไพรที่สามารถหาได้ง่าย เช่น ขมิ้น อ้อย และสะค้าน ยาสมุนไพรเหล่านี้มักใช้ในการบรรเทาอาการต่าง ๆ เช่น ปัสสาวะขัด ลมเสียดแทง และโรคมูตร นอกจากการใช้สมุนไพรแล้ว ยังมีการใช้วิธีการทางกายภาพ เช่น การเผาเหล็กแล้วทาบลงบนยา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา การดูแลสุขภาพด้วยวิธีธรรมชาติและสมุนไพรเป็นวิธีที่ปลอดภัยและมีประสิทธิผลในการรักษาอาการเบื้องต้น ทั้งนี้การใช้สมุนไพรต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง และควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเสมอเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด การผสมผสานระหว่างความรู้ทางการแพทย์สมัยใหม่และภูมิปัญญาโบราณสามารถช่วยให้การดูแลสุขภาพเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น

คัมภีร์มัชชุสาระวิเชียร

คัมภีร์มัชชุสาระวิเชียร

ยาอัพยาธิคุณ

สมออัพยา มะขามป้อม แฝกหอม แห้วหมู เอาส่วนเสมอภาค ต้อมแล้วตัดน้ำผึ้งลง กินแก้มูตรพิการ

ยาชื่อขิปะปะกะโอสถ

รากสะค้าน เกลือสินเธาว์ เกลือมะขามป้อม ขิงแห้ง เอาอย่างละ 4 ส่วน บดเป็นผลละลายน้ำร้อนกิน แก้ลมเสียดแทง

ลม 10 ประการ

*ลม 10 ประการนี้ พอจะเยียวยาหาย (หากจะรักษาให้พึงเผาเหล็กให้แดง เอาทาบลงบนยา เพื่อจะให้พองขึ้น ทำทั้งนี้เพื่อมิให้พยาธิจำเริญขึ้นมาได้
ตั้งแอบก้อนลมทักษณะคุละมะ
ประวาตะคุละมะ
ตั้งแอบก้อนลมวามะกะคุละมะ
ทัษฐะคุละมะ
อยู่หน้าขวา มีโลหิตแตกออกมาก
รัตตะคุละมะ
ในอุระ
ปิตตะคุละมะ
ในใส้
เบื้องต่ำเสมหะกระจาย

กฤตคุละมะ

อุระประเทศ
เสลศามะกะคุละมะ
เสลศามากะคุละมะ
เบื้อบนแห่งนาภี
โลหะคุละมะ
เบื้องต่ำแห่งนาภี
นาภีเป็นที่สุด
เบื้องซ้าย

วามะกะคุละมะ

เบื้องขวา

ทักษะณะคุละมะ

โรคมูตร 20 ประการ

ปัสสาวะขัดเพราะ
ปัสสาสะขัด(ลมให้โทษ)
ปัสสาสะขัด (เสมหะให้โทษ)
ปัสสาสะบ่อยๆ
ไปปัสวะวันละ 7 เวลา และ 10 เวลา
เป็นนิ่ว
โรคปะระเมหะ ให้โทษ
ไข้ตรีโทษ
ความเพียรกล้า
ดีให้โทษ
น้ำปัสสาวะ
Subtopic
ออกมาขัด
ร้อน
ไปลซึมไป
ดั่งน้ำนมโค

ใบไม่เน่า

น้ำหนอง

น้ำล้างมือ

เหลืองดั่งน้ำขมิ้น
เป็นโลหิต

ยาที่จะนาบ

ขมิ้น อ้อย ว่านน้ำเปราะหอมงาดำ เทียนดำ เมล็ดพันธ์ผักกาด เอาสิ่งละ 6 ส่วน ตำให้แหลก เคล้สด้วยน้ำมันสุกร

โรคลม 10 ย่าง

ลักษณะ
เป็น

ดาน

เถา

ก้อน

*โรคลม เป็นกลุ่มเเป็นก้อนที่เกิดในช่องท้องหรือทรวงอก มิได้ระบุว่าจะเกิดกับหญิงหรือชาย
คุละมะ แปลว่า เป็นกลุ่ม เป็นก้อน
วิเชียร แปลว่า แก้ว
มัญชุสาระ แปลว่า ลุ้ง หีบ