Categories: All

by Jitaporn Jitpirom 3 years ago

1352

ทฤษฎีจิตวิทยา พัฒนาการ

จิตวิทยาพัฒนาการและบุคลิกภาพของมนุษย์เป็นหัวข้อที่ได้รับการศึกษาและวิเคราะห์อย่างลึกซึ้ง โดยนักจิตวิทยาคนสำคัญอย่างฟรอยด์ได้แบ่งโครงสร้างจิตออกเป็นสามส่วนหลัก คือ Id, Ego และ Super Ego ซึ่งแต่ละส่วนมีบทบาทและหน้าที่ที่แตกต่างกันในการควบคุมพฤติกรรมและความคิดของบุคคล ฟรอยด์ยังเชื่อว่ามนุษย์มีสัญชาตญาณติดตัวมาตั้งแต่เกิด ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นสัญชาตญาณเพื่อการดำรงชีวิตและสัญชาตญาณเพื่อความตาย นอกจากนี้ การพัฒนาการทางจิตและสติปัญญาของบุคคลยังเป็นไปตามลำดับขั้นตอนที่แน่นอน โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นแรกเกิดจนถึงวัยผู้ใหญ่ การพัฒนาการนี้ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ เช่น ขั้นปาก ขั้นทวารหนัก ขั้นอวัยวะเพศ ขั้นแฝง และขั้นสนใจเพศตรงข้าม แต่ละขั้นตอนมีลักษณะเฉพาะที่ช่วยเสริมสร้างและปรับปรุงพฤติกรรมและความคิดของบุคคลให้เหมาะสมกับวัยของตนเอง

ทฤษฎีจิตวิทยา พัฒนาการ

ทฤษฎีจิตวิทยา พัฒนาการ

ทฤษฏีพัฒนาการการให้เหตุผลทางจริยธรรม

ขั้นที่ 6 หลักการคุณธรรมสากล ขั้นนี้เป็นหลักการมาตรฐานจริยธรรมสากล เป็นหลักการเพื่อมนุษยธรรม เพื่อความเสมอภาคในสิทธิมนุษยชนและเพื่อความยุติธรรมของมนุษย์ทุกคน ในขั้นนี้สิ่งที่ “ถูก” และ “ผิด”
ขั้นที่ 5 สัญญาสังคมหรือหลักการทำตามคำมั่นสัญญา ขั้นนี้เน้นถึงความสำคัญของมาตรฐานทางจริยธรรมที่ทุกคนหรือคนส่วนใหญ่ในสังคมยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ถูกสมควรที่จะปฏิบัติตาม
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมอย่างมีวิจารณญาณเป็นหลักจริยธรรมของผู้มีอายุ 20 ปี ขึ้นไป ผู้ทำหรือผู้แสดงพฤติกรรมได้พยายามที่จะตีความหมายของหลักการ
ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สังคม จะพบในวัยรุ่นอายุ 10 -16 ปี
ขั้นที่ 4 กฎและระเบียบของสังคม จะใช้หลักทำตามหน้าที่ของสังคม โดยปฏิบัติตามระเบียบของสังคมอย่างเคร่งครัด
ขั้นที่ 3 การยอมรับของกลุ่มหรือสังคม ใช้เหตุผลเลือกทำในสิ่งที่กลุ่มยอมรับโดยเฉพาะเพื่อน
ระดับที่ 1 ระดับก่อนกฏเกณฑ์สังคม จะพบในเด็ก 2-10 ปี โคลเบิร์กแบ่งขั้นพัฒนาการ
ขั้นที่ 2 ระดับจริยธรรมของผู้อื่น ในขั้นนี้เด็กจะสนใจทำตามกฎข้อบังคับ เพื่อประโยชน์หรือความพอใจของตนเอง
แบ่งขั้นพัฒนาการ ระดับนี้เป็น 2 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 ระดับจริยธรรมของผู้อื่น ในขั้นนี้เด็กจะใช้ผลตามของพฤติกรรมเป็นเครื่องชี้ว่า พฤติกรรมของตน “ถูก” หรือ “ผิด”
ทฤษฎีของโคลเบิร์กได้ชื่อทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม (Moral Development Theory) โคลเบิร์ก (Lawrence Kohlberg) ได้ศึกษาวิจัยพัฒนาการทางจริยธรรมตามแนวทฤษฎีของพีอาเจต์ แต่โคลเบิรก์ได้ปรับปรุงวิธีวิจัย การวิเคราะห์ผลรวมและได้วิจัยอย่างกว้างขวางในประเทศอื่นที่มีวัฒนธรรมต่างไป

sss

บุคลิกภาพประกอบด้วย จิตของมนุษย์มี โครงสร้างของจิตเป็น 3 ส่วน Id, Ego and Super Ego
3.ซูเปอร์อีโก (Super ego)เป็นระดับจิตที่อยู่ในจิตสำนึกเป็นบางส่วน มีหน้าที่ควบคุมการ แสวงหาความสุข
2.อีโก้ (Ego)เป็นระดับจิตสำนึกบางส่วน ทำหน้าที่ตามหลักการแห่งความจริง
1.อิด (Id) หมายความถึง ความปรารถนาเป็นต้นกำลัง และแหล่งรวมพลังงาน
ฟรอยด์เชื่อว่ามนุษย์มีสัญชาตญาณติดตัวมาแต่กำาเนิด พฤติกรรมของบุคคลเป็ นผลมาจากแรงจูงใจหรือแรงพ้ืนฐานที่กระตุ้นใหบุคคลมีพฤติกรรม คือ สัญชาตญาณทางเพศ (sexual instinct) 2 ลักษณะคือ 1. สัญชาตญาณเพื่อการดำรงชีวิต (eros = life instinct) 2. สัญชาตญาณเพื่อความตาย (thanatos = death instinct))
5.ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (genital stage)เป็นวัยรุ่นเริ่มตั้งแต่อายุ12 ปีข้ึนไป เด็กเริ่มสนใจเพศตรงข้าม
4. ขั้นแฝงหรือขั้นพัก (latency stage) มีอายุอยู่ในช่วง 6ถึง 12 ปีฟรอยดก์ล่าวว่าเด็กวัยนี้จะมุ่งความสนใจไปที่พฒั นาการดา้นสังคมและดา้นสติปัญญา
3. ขั้นอวัยวะเพศ (phallic or oedipal stage)อายุอยู่ระหว่าง 3ถึง 5 ปีความพึงพอใจของเด็กวยัน้ี อยู่ที่อวัยวะสืบพันธุ์
2.ขั้นทวารหนัก (anal stage) มีอายุอยู่ในช่วง 18 เดือน ถึง 3 ปี วัยนี้จะไดร้ับความพึงพอใจจากการขับถ่าย
1.ขั้นปาก (oral stage) มีอายุอยู่ในช่วงแรกเกิดถึง 18 เดือนหรือวัยทารกบริเวณช่องปาก
ได้แบ่งบุคคลิกภาพของมนุษย์ออกเป็น5ข้น

ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา

4. ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) เริ่มจากอายุ 11-15 ปี ในขั้นนี้พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้เป็นขั้นสุดยอด คือเด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่
3. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) เริ่มจากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิด
2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี
1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู เป็นต้น
พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่างๆเป็นลำดับขั้น
การพัฒนาการคิดเชิงตรรกะหรือการคิดเชิงเหตุผลตั้งแต่เด็กจนถึงผู้ใหญ่ ช่วงการเปลี่ยนแปลงของการให้เหตุผลจากรูปแบบหนึ่งไปสู่การให้เหตุผลในอีกรูปแบบหนึ่งของบุคคลนั้นจะเป็นไปตามลำดับขั้นตอนแน่นอนสำหรับทุกคน