Categories: All - สถิติ - ความสัมพันธ์ - การวัด - วิจัย

by mannika kaewjaranai 4 years ago

221

สถิติพื้นฐานและการเก็บข้อมูลเบื้องต้น

การใช้สถิติมีความสำคัญในการวิจัยเพราะมันช่วยในการวิเคราะห์และตีความข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ซึ่งสามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรว่าเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตาม นอกจากนี้ยังต้องรู้จักการนำเสนอและการอ่านผลลัพธ์อย่างถูกต้อง รวมถึงการวัดระดับของข้อมูลที่สามารถเป็นได้ทั้งตัวแปรอันดับ ตัวแปรกลุ่ม ตัวแปรอัตราส่วน และตัวแปรช่วง การใช้สถิติเพื่อการวิจัยมักมีวัตถุประสงค์เพื่อพรรณนาคุณสมบัติของหน่วยการศึกษา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มเป้าหมาย และการประมาณค่าหรือพยากรณ์ ข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมสามารถถูกจัดประเภทและวิเคราะห์ได้หลากหลายวิธี ตั้งแต่การใช้ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งช่วยให้การวิจัยมีความแม่นยำและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น

สถิติพื้นฐานและการเก็บข้อมูลเบื้องต้น

สถิติพื้นฐานและการเก็บข้อมูลเบื้องต้น

ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความผล
รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ
สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตาม
รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด
ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้

หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ

ตีความหมาย
แปลผลค่าสถิติต่างๆได้ถูกต้อง
เสนอในรูปแบบมารฐานของแต่ละวิธีการหรือที่วงวิชายอมรับ
หลีกเลี่ยงการนำเสนอซ้ำซาก

วัตุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

ศึกษาการประมาณค่าหรือพยากรณ์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยการศึกษา/วิเคราะห์

ประเภทตัวแปรทีใช้ในสถิติ

ตัวแปรตามระดับการวัด
ตัวแปรอัตราส่วน
ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค
ตัวแปรอันดับ
ตัวแปรกลุม หรือ นามมาตรา หรือ นามกำหนด
ตัวแปรตามบทบาท
ตัวแปรตาม

ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้นหรือผลของตัวแปรต้น

ตัวแปรอิสระ

คือตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน เป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา

ประเภทของสถิติ

สถิตพารามิเตอร์ วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร
สถิติไร้พารามิเตอร์

เป็นวิธีการที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง3ประการ

สถิติพารามิตอร์

การเขียนแสดงค่าสถิติใช้ภาษาอังกฤษเป็นสัญลักษณ์

สถิติเชิงพรรณา เกี่ยวข้องกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูล สถิติที่ใช้เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัย
การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่ ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากรแต่อย่างใด ลักษณะที่จะพรรณาข้อมูล มีอยู่สองลักษณะคือ การใช้อักษรหรือตัวเลข , การใช้แผนภาพ

ประเภทของข้อมูล

อัตราส่วน
ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว
ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูงสามารถ บวก ลบ คูณ หารได้และมีศูนย์แท้
อันตรภาค
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติชั้นสูงทุกตัว
เป็นข้อมูลที่บ่งบอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วงเป็นข้อมูลตัวเลข สามารถบวก ลบ กันได้แต่ไม่มีศูนย์แท้
เรียงลำดับ
สถิติที่ใช้วิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆโดยเรียงลำดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงไปหาต่ำ
นามบัญญัติ
ใช้สถิติง่ายในการคำนวณ คือความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นเพียงตัวแทนของชื่อกลุ่มเท่านั้น
เป็นระดับกำรวัดที่หยำบที่สุด จัดข้อมูล หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ อำชีพ

คำจำกัด

สถิติหมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก เป็นต้น สถิติในความหมายที่กล่าวมานี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าข้อมูลสถติ
คำว่าสถิติ มาจากภาษาเยอรมันว่าstatisttics มีรากศัพท์จากstat หมายถึงข้อมูลหรือสารสนเทศ ซึ่งอำนวยประโยชน์ต่อการบริหารในด้านต่างๆ