Categories: All - ทฤษฎี - ตัวแปร - ข้อมูล

by Sattaporn Phen 5 years ago

286

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย📝🔎📚 (Foundation of Research)

การวิจัยคือกระบวนการที่มีระบบและเป็นขั้นตอนเพื่อค้นหาความรู้และข้อเท็จจริงโดยปราศจากอคติ งานวิจัยมีจุดมุ่งหมายในการศึกษาและสรุปผลเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมและพัฒนากฎทางทฤษฎี นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายในการแก้ปัญหาด้วยการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ประเภทของการวิจัยแบ่งออกเป็นการวิจัยพื้นฐานที่เน้นการค้นหาความจริงเชิงทฤษฎี และการวิจัยประยุกต์ที่นำผลการวิจัยมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังมีการวิจัยแบบต่อเนื่องที่ใช้เวลาในการเก็บข้อมูลอย่างยาวนานเพื่อให้ได้ผลสรุปที่ละเอียดและชัดเจน และการวิจัยแบบตัดขวางที่ใช้เวลาในช่วงใดช่วงหนึ่งเพื่อสรุปภาพรวมของปรากฏการณ์ในอนาคต โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำผลสรุปไปอ้างอิงสู่ประชากร ทำให้การวิจัยเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาความรู้และแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย📝🔎📚
(Foundation of Research)

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย📝🔎📚 (Foundation of Research)

Type in the name of the company you are going to have an interview with.

🌷จุดมุ่งหมายของการวิจัย

Do you fully understand what this position implies?

After you've made some research on the company, read the job description thoroughly, and try to fully understand what your responsibilities will be.

การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล

What would you do on the first day?
What about the first week(s)? Fill in some of the actions that you are planning to take.

หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล โดย ที่ปัญหาในบางปัญหาไม่สามารถทำการวิจัยได้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้
การวิจัยเป็นการสรุปผล

What do you think the main challenges will be?


Type them in.

หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต หรือเป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อที่นำผลสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากร
เป้าหมายของการวิจัย

What will be your main tasks?


Type them in.

มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา โดยศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรที่มีความเป็นเหตุและเป็นผลซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน

🌵ธรรมชาติของการวิจัย

การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย
การวิจัยที่มีประสิทธิภาพจะต้องดำเนินการ โดยที่ผู้วิจัยที่มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการวิจัยที่จะสามารถดำเนินการวิจัยตั้งแต่ การวิเคราะห์ปัญหา การวิจัยจนกระทั่งได้ผลการวิจัยถูกต้อง และน่าเชื่อถือ
การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย
การวิจัยจะมีวิธีการในการดำเนินการวิจัยที่ให้ ผู้วิจัยได้เลือกใช้อย่างหลายหลายวิธีการตามความเหมาะสมของปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์ หรือ การดำเนินการวิจัย
การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่
การวิจัยในแต่ละครั้งจะต้องมีการเก็บ รวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น ๆ แต่ถ้าใช้ข้อมูลเดิมจะต้องมี การกำหนดวัตถุประสงค์ใหม่ที่นำข้อมูลที่มีอยู่แล้วมาสังเคราะห์เพื่อให้เกิดคำตอบของปัญหาที่ชัดเจน ตามที่กาหนด
การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา
การวิจัยเป็นการดำเนินการที่จะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่ เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา(ตัวแปรตาม) กับวิธีการแก้ปัญหา(ตัวแปรต้น) แล้วจึงจะใช้วิธีการทาง วิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการในการดำเนินการตรวจสอบการแก้ปัญหานั้น ๆ
การวิจัยมีเหตุผล
การวิจัยเป็นการดำเนินการที่จะต้องมีเหตุผลที่ชัดเจนในการดำเนินการทุกขั้นตอนเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือและสามารถตรวจสอบ ได้อย่างชัดเจน
การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability)
การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity)
การวิจัยมีจุดมุ่งหมายท่ีชัดเจน
การวิจัยเป็นการดำเนินการที่มีจุดมุ่งหมายใน 4 ลักษณะ คือ บรรยาย อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ
การวิจัยเป็นการดำเนินการตามขั้นตอน วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) ที่มีการวางแผนอย่างมีเหตุผลและลำดับขั้นตอนท่ี ชัดเจน ที่จะทำให้ได้ข้อค้นพบที่ถูกต้องและน่าเช่ือถือ
การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์

How would you describe yourself?


Type in a short description.

การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาคำตอบที่ ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมีความชัดเจนที่สามารถตรวจสอบได้

🔍แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ (Probabilistic Law of Nature)
เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ในปรากฏการณ์ ใด ๆ นั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่ มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง
กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ (Principle Component of Nature)
เป็นแนวคิดที่ ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปร อื่นๆ ท่ีมักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ ๆ
กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ (Associative Law of Nature)

What experience have you got from your previous jobs? Make sure you specify all your previous work experience, part-time jobs, vacation jobs, voluntary work, and unpaid work experience that are relevant for the position you are applying for.

เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ใน การเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกันนั้น จะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและตัวแปร ผลที่แตกต่างกัน
กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ (Systematic Law of Nature)

Describe a typical work day in your previous/current position.

เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของ ตัวแปรท่ีค่อนข้างจะชัดเจน เพื่อที่ผู้วิจัยจะได้นำรูปแบบ ดังกล่าวไปใช้อธิบายในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น โดยท่ัว ๆ ไปได้
กฎเหตุและผลของธรรมชาติ (Deterministic Law of Nature)

Why will/did you leave your existing/last job?

เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ

💥ขั้นตอนการวิจัย

1) เลือกหัวข้อปัญหา เป็นการตอบคำถามที่ว่าเราจะทำวิจัยเรื่องอะไร ซึ่งจะต้องพิจารณาให้ รอบคอบด้วยความมั่นใจและเขียนชื่อเรื่องที่จะวิจัยออกมา

2) การกำหนดขอบเขตของปัญหา เมื่อได้ปัญหาที่จะทำการวิจัยแน่นอนแล้วควรจะกำหนด ขอบเขตของปัญหาให้ชัดแจ้ง เนื่องจากการกำหนดปัญหาที่แน่นอนช่วยผู้วิจัยได้ดังนี้

2.1 วางแผนรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสม

2.2 รู้ถึงเทคนิคต่างๆ ที่เหมาะสมในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนการแปลผลการวิจัย

2.3 มองเห็นภาพอย่างแจ่มชัดว่าจะต้องทำอะไรบ้าง

3) การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาสาระความรู้ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นในตำรา หนังสือ วารสาร รายงานการวิจัยและเอกสาร อื่น ๆ ซึ่งจะ มีประโยชน์ต่อผู้วิจัยในข้อต่อไปนี้

3.1 ช่วยให้ไม่เกิดการซ้ำซ้อนในการวิจัย

3.2 ช่วยให้กำหนดขอบเขตของการทำวิจัยได้ถูกต้องชัดเจน (กรอบแนวคิด)

3.3 ได้แนวทางในการกำหนดสมมุติฐาน (กรณีที่มีสมมุติฐาน)

3.4 ได้แนวทางในการสร้างเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูล

3.5 ได้แนวทางในการสุ่มตัวอย่าง

3.6 ได้แนวทางในการใช้ค่าสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล

3.7 ได้แนวทางการแปลผลการวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัย

4) การกำหนดสมมุติฐาน หมายถึง การเขียนข้อความที่เป็นข้อคาดหวังเกี่ยวกับความ แตกต่าง ที่อาจเป็นไปได้ ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ซึ่งสมมุติฐานนั้นไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นจริงเสมอไป

5) การเขียนเค้าโครงการวิจัย การเขียนเค้าโครงการวิจัยเป็นขั้นตอนที่ส าคัญขั้นหนึ่ง เนื่องจาก เค้าโครงการวิจัยนั้นจะเป็นแบบแผนในการดำเนินงานวิจัยอย่างมีระบบ ควรจะประกอบด้วย

5.1 ชื่องานวิจัย

5.2 ภูมิหลังหรือที่มาของปัญหา

5.3 วัตถุประสงค์

5.4 ขอบเขตของการวิจัย

5.5 ตัวแปรต่าง ๆ ที่วิจัย 3Foundation of Research 11

5.6 ค านิยามศัพท์เฉพาะ (ในกรณีที่จำเป็น)

5.7 สมมุติฐาน (ถ้ามี)

5.8 วิธีด าเนินการวิจัย

5.9 รูปแบบของงานวิจัย

5.10 การสุ่มตัวอย่าง

5.11 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

5.12 การวิเคราะห์ข้อมูล

5.13 แผนการทำงาน

5.14 งบประมาณ

6) การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ก่อนที่จะดำเนินการรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะต้องทราบว่า จะใช้เครื่องมืออะไรในการเก็บรวบรวมข้อมูล และเครื่องมือนั้นมีหรือยัง ถ้ายังไม่มีต้องดำเนินการ สร้างและนำเครื่องมือนั้นไปทดลองใช้ เพื่อหาคุณภาพของเครื่องมือ อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัยไม่จำเป็นต้อง สร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลเองเสมอไป กรณีที่ทราบว่ามีเครื่องมือที่สร้างขึ้นอย่างเป็นมาตรฐาน เหมาะสมกับการที่จะนำไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ก็อาจยืมเครื่องมือดังกล่าวมาใช้ได้ถ้าสงสัยใน เรื่องคุณภาพของเครื่องมือ เนื่องจากสร้างไว้นานแล้วก็อาจนำมาทดลองใช้และวิเคราะห์หาคุณภาพ ใหม่อีกครั้งหนึ่งเมื่อพบว่ามีคุณภาพเข้าเกณฑ์ก็น ามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูลได้ (การวิจัยบางเรื่องอาจไม่ ใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่เป็นแบบแผนก็จะตัดขั้นตอนนี้ออกไป)

7) ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยจะต้องทราบว่า ในการทำการวิจัยนั้นสามารถจะรวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม ประชากรทั้งหมด หรือสุ่มตัวอย่าง ซึ่งในการ สุ่มตัวอย่างนั้นก็ต้องทราบว่าจะต้องสุ่มตัวอย่างโดยวิธีการใดที่จะให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดี ของกลุ่มประชากร ข้อมูลที่ผู้วิจัยจะทำการรวบรวมนั้นมาจากไหน ปฐมภูมิ (Primary Source) หรือ ทุติยภูมิ (Secondary Source) วิธีการรวบรวมข้อมูลที่นิยมใช้ในการวิจัยทางการศึกษา ได้แก่

7.1 การใช้แบบทดสอบ

7.2 การใช้แบบวัดเจตคติ

7.3 การส่งแบบสอบถาม

7.4 การสัมภาษณ์

7.5 การสังเกต

7.6 การใช้เทคนิคสังคมมิติ

7.7 การทดลอง

7.8 การจัดกระทำข้อมูล (Data Processing) การจัดกระทำข้อมูลเป็นวิธีการดำเนินการ อย่างมีระบบตามลำดับขั้นกับข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามความมุ่งหมาย 

✨คุณลักษณะของการวิจัย

เบสส์และคาน(Best and Khan,1998 :18-25)และไวร์มา(Wiersma,2000:3) ได้นำสนอ คุณลักษณะของการวิจัยที่คล้ายกัน มีดังนี้

4.1 การวิจัย เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย ที่เป็นการค้น ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล

4.2 การวิจัย เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้อ้างอิงหรือ คาดการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต

4.3 การวิจัย มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จากการสังเกต หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical) ดังนั้นในบางคำถามที่น่าสนใจไม่สามารถที่จะนำมาดำเนินการ วิจัยได้ เพราะไม่สามารถสังเกตหรือแสวงหาข้อมูลเชิงประจักษ์ได้

4.4 การวิจัยจำเป็นจะต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน โดยใช้เครื่องมือในการวิจัยเชิงปริมาณหรือวิธีการของการวิจัยเชิงคุณภาพ

4.5 การวิจัย เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วใน การตอบคำถามตามจุดประสงค์ใหม่ ไม่ใช่เป็นการจัดระบบใหม่ (Reorganizing) โดยการนำข้อมูล ที่ ผู้อื่นค้นพบแล้วมาสรุปอีกครั้งหนึ่ง เพราะทำให้ไม่ได้รับความรู้ใหม่ ๆ

4.6 การวิจัยจะต้องมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย และการวิเคราะห์ที่ถูกต้อง ชัดเจน ที่ จะทำให้ได้ข้อสรุปการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ

4.7 การวิจัย จะต้องเป็นการดำเนินการโดยใช้ความรู้ความช านาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้ ปัญหาที่ตนเองจะทำวิจัย และปัญหาดังกล่าวมีบุคคลใดประเด็นใดที่ได้ทำวิจัยไปแล้วบ้าง รวมทั้ง เรียนรู้ คำศัพท์เฉพาะที่ใช้ ความคิดรวบยอดและทักษะทางเทคนิค ที่จะสามารถนำมาใช้ใน การ วิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง

4.8 การวิจัย จะต้องกำหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถ ทดสอบได้และวิธีการที่เหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นจริง มีเหตุผล และจะต้องไม่มีอคติของผู้วิจัย มาเกี่ยวข้อง 3Foundation of Research 5

4.9 งานวิจัย จะต้องเป็นการดำเนินการแสวงหาค าตอบที่นำมาใช้ตอบค าถามของปัญหาที่ ยัง ไม่สามารถแก้ไขได้

4.10 การวิจัย เป็นกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการด้วยความอดทน ไม่เร่งรีบ และจะต้อง ยอมรับ/เผชิญอุปสรรคในวิธีการได้มาของคำตอบในการวิจัย

4.11 การวิจัย จะต้องมีการจดบันทึกข้อมูล และจัดทำรายงานการวิจัยด้วยความระมัดระวัง ในการใช้คำที่มีความหมาย วิธีการดำเนินการวิจัย หรือการอ้างอิงข้อมูลที่ได้นำมากล่าวอ้างอิงอย่าง ถูกต้อง

How ambitious are you?

การวิจัย เป็นวิธีการ ๆ หนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความ จริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจน และมีการกำหนดจุดมุ่งหมายของการ วิจัย ในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร

What are your short-term goals ?


Type them in.

🍊ประเภทของการวิจัย

Are you qualified for this position?


Interviewers will want to know whether or not you are able to do the job.

Answer the questions from this section and see if you are the right person for this position.

ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดกระทำ
การวิจัยแบบทดลองท่ีแท้จริง(True Experimental Research)
การวิจัยกึ่งทดลอง(Quasi Experimental Research)

เป็นการวิจัยที่ไม่สามารถ ดำเนินการในกระบวนการวิจัยได้อย่างครบถ้วน อาทิ การสุ่มตัวอย่าง หรือการนำกลุ่มตัวอย่างมา ศึกษาในห้องปฏิบัติการเนื่องจากปัญหาจริยธรรมในการวิจัย เป็นต้น

การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น(Pre Experimental Research)

เป็นการวิจัยที่ ศึกษาปรากฏการณ์ที่เป็นธรรมชาติ โดยไม่ได้มีการจัดกระทำสิ่งทดลองให้ในการทดลองเนื่องจาก อาจจะมี ปัญหาจริยธรรมในการวิจัย ได้แก่ การวิจัยสหสัมพันธ์ การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิง อนาคต หรือ การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ เป็นต้น

จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย
การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร(Causal-Oriented Research)

เป็นการวิจัยที่แสวงหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่อาจจะเป็น การศึกษา ท่ีสืบหาสาเหตุย้อนหลังระหว่างตัวแปรภายใต้สภาวะธรรมชาติ การจัดกระทาเพื่อทดสอบ ความเป็นเหตุ และเป็นผลระหว่างตัวแปรภายใต้สภาพการทดลองที่จัดขึ้น

การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร(Correlation-Oriented Research)

 เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า การทำนายค่าของ ตัวแปรที่สนใจ

การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร(Descriptive-Oriented Research)

 เป็นการวิจัยที่ มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อบรรยายลักษณะของตัวแปรในประชากร ที่อาจเป็นเฉพาะกรณี การสำรวจ ปรากฏการณ์ในอดีต หรือปัจจุบัน หรือการเปรียบเทียบหรือประเมินความแตกต่างระหว่างประชากร

จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย
การวิจัยแบบต่อเนื่อง (Longitudinal Research)

เป็นการวิจัยที่ใช้เวลาอย่าง ต่อเนื่องในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทำให้ได้ผลสรุปของข้อมูลที่ชัดเจน ละเอียด และได้เห็นกระบวนการ การเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น แต่ผู้วิจัยจะต้องใช้ค่าใช้จ่าย/เวลาที่ค่อนข้างสูง

การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น(Cross-section Research)

เป็นการวิจัยท่ีใช้ เวลาในการวิจัยช่วงใดช่วงหน่ึงที่ผู้วิจัยสนใจแล้วนำมาสรุปผลในภาพรวมของปรากฏการณ์นั้น ๆ ใน อนาคตมากกว่าสภาพในปัจจุบันหรืออดีต มีข้อดี คือ ประหยัดค่าใช้จ่าย แต่อาจจะไม่เห็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น

  

จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์
การวิจัยทางสังคมศาสตร์(Social Research)

 เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม การเมือง การ ปกครอง และการศึกษา เป็นต้น

การวิจัยทางวิทยาศาสตร์(Scientific Research)

เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ที่มักจะเกิดขึ้นตามธรรมชาติที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต หรือใน สถานการณ์จำลองในการทดลองที่สามารถควบคุมความแปรปรวนที่เกิดขึ้นได้ โดยใช้เครื่องมือ ที่เป็น มาตรฐาน หรือใช้กฎเกณฑ์มาตรฐานในการพิจารณาตัดสินผลที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ

การวิจัยใดๆจำเป็นต้องมีความเที่ยงตรง ใน 2 ลักษณะ

จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology)

Which qualities were easily observed by your colleagues and/or your former/existing boss?

Type them in.

การวิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research)

การศึกษาพัฒนาการ(Developmental Studies)

การศึกษาแนวโน้ม(Trend Studies)

การศึกษาความเจริญงอกงาม(Growth Studies)

การศึกษาความสัมพันธ์ (Interrelationship Studies)

เป็นการวิจัยที่มี วัตถุประสงค์เพื่อใช้บรรยายความสัมพันธ์ของคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น อาทิ การศึกษา เฉพาะกรณี(Case Study) การศึกษาสหสัมพันธ์(Correlation) การศึกษาเปรียบเทียบสาเหตุ การศึกษา ติดตามผล หรือ การวิเคราะห์เอกสาร เป็นต้น

การวิจัยเชิงสำรวจ(Survey Research)

เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ บรรยายคุณลักษณะหรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร อาทิ การสำรวจโรงเรียน/ชุมชน/ ประชามติ เป็นต้น

การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์(Historical Research )

เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ ใช้ ข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีหลักฐานปรากฏอยู่ อาทิ รูปภาพ สิ่งพิมพ์ บันทึกเหตุการณ์ หรือซากวัสดุ ต่าง ๆ เป็นต้น

จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล

What are your weaknesses?


Examples:

stubbornoverly critical, can't accept authoritytoo demandingtoo talkativetoo quiettoo sensitivelacking assertivenesslacking social tact
การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research)

เป็นการวิจัยที่เก็บรวบรวมข้อมูล จากตัวแปรท่ีมีลักษณะเป็นตัวเลขที่ระบุระดับความมาก/น้อยของปรากฏการณ์ตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ ค่อนข้างชัดเจน

การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research)

เป็นการวิจัยที่เก็บรวบรวมข้อมูล จากตัวแปรที่มีลักษณะเป็นข้อความท่ีบรรยายลักษณะ เหตุการณ์หรืออธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่า เป็นอย่างไรตามสภาพแวดล้อม

จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย

What strengths qualify you for this job?



Example:

ambitiousgood communicatorfocuseddeterminedadaptablecuriousoptimisthard workerhonestpoliteco-operativeself motivatedenthusiasticgood leaderstrategic thinkerquick learnerflexiblegood problem solver
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์(Basic Research or Pure Research)

เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหาความรู้ความจริงเชิงทฤษฎี/ปรากฏการณ์ ที่นำมาใช้ใน การสนับสนุน หรือขัดแย้งกับกฎเกณฑ์ หรือทฤษฎีท่ีมีอยู่

การวิจัยการนำไปใช้(Applied Research)

เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ใน การนำผลการวิจัยจากการวิจัยพื้นฐานมาใช้ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้ในปัจจุบัน

🍄ความหมายของงานวิจัย

เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนท่ีชัดเจนปราศจาก อคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ท่ีผู้วิจัยนำมาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง เพื่อนำไปใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏี หรือนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่าง ถูกต้อง แม่นยำ และเช่ือถือได้