ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
(Foundation of Research)
ขั้นตอนในการวิจัย
7.ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการรวบรวมข้อมูลที่นิยมใช้ในการวิจัยทางการศึกษา
การจัดกระทำข้อมูล (Data Processing)
การทดลอง
การใช้เทคนิคสังคมมิติ
การสัมภาษณ์
การส่งแบบสอบถาม
การใช้แบบวัดเจตคติ
การใช้แบบทดสอบ
6.การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
5.การเขียนเค้าโครงการวิจัย
4.การกำหนดสมมุติฐาน
3.การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.กำหนดขอบเขตของปัญหา
มองเห็นภาพอย่างแจ่มชัดว่าจะต้องทำอะไรบ้าง
รู้ถึงเทคนิคต่างๆที่เหมาะสมในการเลือก
การแปลผลการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
กลุ่มตัวอย่าง
วางแผนรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆที่เหมาะสม
1.เลือกหัวข้อปัญหา
ประเภทของการวิจัย
จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology)
การวิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research)
การศึกษาพัฒนาการ(Developmental Studies)
จำแนกได้2 ลักษณะ
การศึกษาแนวโน้ม(Trend Studies)
การศึกษาความเจริญงอกงาม(Growth Studies)
การศึกษาภาคตัดขวาง(Cross-section Approach)
การศึกษาระยะยาว(Longitudinal Approach)
การศึกษาความสัมพันธ์ (Interrelationship Studies)
การวิจัยเชิงสำรวจ(Survey Research)
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์(Historical Research)
จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล
การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research)
การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research)
จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์
การวิจัยทางสังคมศาสตร์(Social Research)
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์(Scientific Research)
จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย
การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร(Causal-Oriented
Research)
การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร(Correlation-Oriented
Research)
การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร(Descriptive-Oriented Research)
จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย
การวิจัยการนำไปใช้
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์
ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดกระทำ
การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง(True Experimental Research)
การวิจัยกึ่งทดลอง(Quasi Experimental Research)
การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น(Pre Experimental Research)
จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย
การวิจัยแบบต่อเนื่อง (Longitudinal Research)
การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น(Cross-section Research)
ธรรมชาติของการวิจัย
การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย
การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย
การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่
ต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้นๆ
การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา
เริ่มต้นด้วยปัญหาที่เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา(ตัวแปรตาม) กับวิธีการแก้ปัญหา(ตัวแปรต้น)
การวิจัยมีเหตุผล
ที่จะต้องมีเหตุผลที่ชัดเจนในการดำเนินการทุกขั้นตอนเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้อง
การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability)
ต้องมีความคงเส้นคงวาใน การดำเนินการวิจัย
การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity)
จำเป็นต้องมีความเที่ยงตรงใน 2 ลักษณะ
ความเที่ยงตรงภายนอก
ความเที่ยงตรงภายใน
การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
มีจุดมุ่งหมายใน 4ลักษณะ
ควบคุม
พยากรณ์
อธิบาย
บรรยาย
การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ
ดำเนินการตามขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์
กระบวนการแสวงหาคำตอบที่ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
มีความชัดเจน
เชื่อถือได้
ความถูกต้อง
คุณลักษณะของการวิจัย
ต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ที่
เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน
มีการใช้เครื่องมือในการวิจัย
เชิงคุณภาพ
เชิงปริมาณ
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ
ไม่ใช่เป็นการจัดระบบใหม่ (Reorganizing)
ที่เอาข้อมูลคนอื่นมาสรุปใหม่อีกครั้ง
เพราะทำให้ไม่ได้รับความรู้ใหม่ๆ
หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
การวิจัยที่มีประสิทธิภาพ จะต้องมี
การวิเคราะห์
ชัดเจน
ถูกต้อง
แบบแผนการวิจัย
วิธีการ
ระบบ
มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จาก
ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical)
การสังเกต
เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้อ้างอิงหรือคาดการณ์
เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย อย่างมีเหตุผล
ต้องมีการจดบันทึกข้อมูล และจัดทำรายงานการวิจัยด้วยความระมัดระวัง
เป็นกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการด้วย
ต้องยอมรับ/เผชิญอุปสรรค
ไม่เร่งรีบ
ความอดทน
ต้องเป็นการดำเนินการแสวงหาคำตอบที่นำมาใช้ตอบคำถามของปัญหาที่ ยังไม่สามารถแก้ไขได้
ต้องเป็นการดำาเนินการโดยใช้ความรู้ความชำนาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้ปัญหาที่เราจะทำวิจัย
และปัญหานั้นมีบุคคลใดประเด็นใดที่ได้ทำวิจัยไปแล้วบ้าง
ต้องกำหนดวัตถุประสงค์โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถทดสอบได้และวิธีการที่เหมาะสม
เบสส์และคาน และไวร์มา ได้น าเสนอ
คุณลักษณะของการวิจัยที่คล้ายกัน
แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย
กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ(Probabilistic Law of Nature)
ระบุว่าในปรากฏการณ์ใดๆนั้นความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ผลลัพธ์ของปรากฏการณ์มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง
กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ(Principle Component of Nature)
ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้นๆไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว
แต่จะมีตัวแปรอื่นๆที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอๆ
กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ(Associative Law of Nature)
ระบุว่าในการเกิดปรากฏการณ์ใดๆที่แตกต่างกันนั้น
กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ(Systematic Law of Nature)
ระบุว่าปรากฏการณ์ใดๆที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน
กฎเหตุและผลของธรรมชาติ(Deterministic Law of Nature)
ระบุว่าปรากฏการณ์ใดๆที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอๆ
จุดมุ่งหมายของการวิจัย
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล มาใช้ในการสรุปผล
เป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะ
เกิดขึ้น
เป้าหมายของการวิจัย
มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา
ความหมายของการวิจัย
เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจาก
อคติส่วนตัว เพื่อนำไปใช้อธิบาย
นำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้
ปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏี
การจัดกระทำข้อมูล
การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน
ผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
วิธีการดำเนินการวิจัย
การตรวจสอบเอกสาร
บทนำ
Output
นำผลจากการขั้นตอนที่ได้จากขั้น Processing
นำเสนอในรูปแบบต่างๆ
แผนภูมิ
ตาราง
เขียนเป็นรายงาน
Processing
เป็นขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล
Input
เป็นการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์
จรรยาบรรณของนักวิจัย
มี9 ประการ
นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
ใจกว้าง และพร้อมเปิดเผยข้อมูลในการวิจัย และพร้อมแก้ไข ปรับปรุงงาน
นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
ไม่ขยายผลข้อค้นพบจนเกินความเป็นจริง
นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทำวิจัย
นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย
ต้องดำเนินการด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และเที่ยงตรงในการทำวิจัย
ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย
นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย
ตามข้อตกลงที่ทำไว้
ต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด
หน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัย
นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ
ความหมาย
กลุ่มบุคคลแต่ละสาขาวิชาชีพประมวลขึ้นไว้เป็นหลักเพื่อให้สมาชิกในสาขา
วิชาชีพนั้น ๆ ยึดถือปฏิบัติ
หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมใน
การประกอบอาชีพ
การเขียนคำถามวิจัย (Research Questions)
องอาจ นัยพัฒน์
สามารถเขียนได้ 3 ลักษณะ
ประเด็นคำถามเชิงเปรียบเทียบ
คำถามที่มุ่งเน้นการเปรียบเทียบพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ที่สนใจระหว่าง
กลุ่มทดลองที่จัดกระทำทางการทดลองขึ้น
กลุ่มควบคุมที่ที่ดำเนินตามสภาวะปกติ
ประเด็นคำถามเชิงความสัมพันธ์
การกำหนดหัวข้อปัญหาวิจัย มุ่งหาความสัมพันธ์ของตัวแปร X กับตัวแปร Y
ประเด็นคำถามเชิงพรรณนา
การกำหนดหัวข้อปัญหาวิจัยในรูปคำถามที่ว่า"What is"
อาทิวรรณ โชติพฤกษ์ ได้กล่าวว่า
การตั้งคำถามเป็นขั้นตอนที่สำคัญ เพราะคำถามวิจัยที่ผู้วิจัยตั้งขึ้นบ่งบอกให้ทราบถึงประเด็นที่ผู้วิจัยต้องการทราบหรือทำความเข้าใจในเรื่องที่เลือกเป็นหัวข้อวิจัยนั้น ๆ
สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย
กล่าวถึงข้อบกพร่องที่พบในรายงานวิจัยของนิสิตนักศึกษา
การกำหนดคำถามวิจัยในลักษณะของข้อความที่รู้คำตอบอยู่แล้วอาจมีเพียงผู้วิจัยที่ยังไม่รู้คำตอบ
ยกตัวอย่างการตั้งคำถามวิจัยของงานวิจัยประเภทต่าง ๆ
การวิจัยอนาคต
ผลดี ผลเสีย และผลกระทบที่เกิดจากการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในอนาคต 25 ปีข้างหน้ามีลักษณะอย่างไรจะทำอย่างไรจึงจะทำให้เกิดผลดี
ลักษณะของการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางใน 25 ปีข้างหน้าจะมีปรัชญา หลักการ และวิธีการเป็นรูปแบบใด
บรรยายสภาพการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
การวิจัยเชิงประเมินผล
โครงการหรือกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่โรงเรียนกำลังดำเนินการอยู่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับใดมีจุดแข็ง จุดอ่อนอะไรบ้าง หากต้องการพัฒนาให้ดีขึ้นควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
เพื่อตรวจสอบบริบท ปัจจัย กระบวนการ ผลการดำเนินงานในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามเกณฑ์ที่กำหนด และตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ
การวิจัยเชิงสำรวจ
สภาพปัญหาของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของครูระดับประถมศึกษามีอะไรบ้าง
ศึกษาเหตุการณ์สภาพต่าง ๆที่เกิดขึ้นตัวแปรที่ศึกษาไม่ถูกจัดกระทำแต่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ตัวอย่างคำถามวิจัย
อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดวิวัฒนาการของปรัชญาการศึกษาไทยที่ใช้อยู่ในอดีตจนมาเป็นแบบการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิเคราะห์เชื่อมโยงความเกี่ยวข้องระหว่างปรากฏการณ์บรรยายสภาพการณ์และ
อภิปรายสรุป
บรรยายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต
ให้ความหมายว่า
ข้อความที่เป็นประโยคคำถาม ซึ่งแสดงให้เห็นสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการค้นหาคำตอบ
ตัวแปรและสมมติฐาน
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
มีอำนาจในการพยากรณ์
มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป
สามารถตรวจสอบได้
สามารถคัดค้านได้
มีข้อมูลมาสนับสนุน
เขียนด้วยถ้อยคำที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจนภายในตัวของมันเอง
ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้ที่ได้จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง
ตอบคำถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว
อธิบายหรือตอบคำถามได้
อยู่ในรูปแบบที่สามารถลงสรุป
ได้ว่า
คัดค้าน
สนับสนุน
ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
แหล่งที่มาของสมมติฐาน
การสังเกตพฤติกรรม
การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่นๆ
ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย
การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ประเภทของสมมติฐาน
มีเทคนิคการเขียนอยู่ 2 แบบ
สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional hypothesis)
การเปรียบเทียบจะระบุเพียงว่าสองกลุ่มนั้นมีคุณลักษณะแตกต่างกันเท่านั้น
ไม่ได้ระบุทิศทางของความสัมพันธ์ของตัวแปร
สมมติฐานแบบมีทิศทาง (directional hypothesis)
ระบุได้แน่นอนถึงทิศทางของความสัมพันธ์ของตัวแปรว่าสัมพันธ์ในทางใด
เป็นสมมติฐานที่เขียนอยู่ในรูปของข้อความ
ที่ใช้ภาษาเป็นสื่อในการอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา
สมมติฐาน(hypothesis)
ลักษณะของสมมติฐาน
สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิต
เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
คือคำตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลต่อปัญหาที่
ศึกษา
การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
การนิยามตัวแปร
การนิยามตัวแปรทำได้ 2 ลักษณะ
การนิยามในลักษณะปฏิบัติการ (Operational definition)
ตัวแปรลักษณะนี้ ประกอบด้วย
ลักษณะสำคัญ 4 ประการ
เกณฑ์ที่เป็นเครื่องชี้บ่งว่าพฤติกรรมที่แสดงออกมา
สถานการณ์ หรือสิ่งเร้าที่เหมาะสม
พฤติกรรมที่แสดงออก
คุณลักษณะหรือองค์ประกอบของตัวแปร
การนิยามในลักษณะของการบอกองค์ประกอบ (Constitutive definition)
อธิบายตัวแปรนั้นหมายถึงอะไร มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
ต้องการนิยามตัวแปร
หรือให้ความหมายของ ตัวแปรที่ศึกษา
ลักษณะและชนิดของตัวแปร
ชนิดของตัวแปร
ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable)
แปรแทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่าตัวแปรเกิน (extraneous variable)
ตัวแปรตาม (dependent variable)
ตัวแปรอิสระ (independent variable)
ลักษณะของตัวแปร
ตัวแปรนามธรรม (Construct)
บางครั้งเรียกตัวแปรสมมติฐาน (hypothetical variable)
วิตกกังวล ความเกรงใจ ทัศนคติ ความเป็นผู้นำ แรงจูงใจ
ตัวแปรรูปธรรม (Concept)
ตัวแปรประเภทนี้มักเป็นตัวแปรที่เป็นรูปธรรม
เพศ อายุ ความสูง
เชื้อชาติ อาชีพ ระดับการศึกษา
ความหมายของตัวแปร
คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่
ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได