สื่อเรื่องของเนื้อหา ให้ระบุให้ชัดเจนไว้หน้าแรก บรรทัดแรก โดยมีขนาดใหญ่กว่าเนื้อหาปกติแนะนำที่ขนาดไม่น้อยกว่า 24 pt หรือใช้Heading 1, Heading 2 Style ในการพิมพ์ชื่อเรื่องของเอกสาร
ส่วนการอ้างอิงและอ้างถึง ซึ่งเป็นเนื้อหาส่วนสุดท้ายเป็นส่วนเอกสารอ้างอิง ที่มีการระบุหัวเรื่องด้วยค าว่า
“บรรณานุกรม, เอกสารอ้างอิง, References หรือBibliography” ที่ชัดเจน
ส่วนผู้รับผิดชอบในการสร้างผลงาน (State of responsibility) ซึ่งควรปรากฏในบรรทัดถัดลงมาให้ผู้ใช้พิมพ์ชื่อผู้แต่ง ผู้สร้างสรรค์โดยจัดชิดขวา แนะนำให้กำหนดขนาดตัวอักษรไว้ที่ 16-23 pt หรือใช้Heading 3 Style ในการพิมพ
Google Scholar คืออะไร?
ปัญหาประการหนึ่งที่นักวิจัยมือใหม่ รวมไปถึงนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ประสบอยู่ก็คือการค้นหาแหล่งข้อมูลเพื่อประกอบการผลิตผลงานทางวิชาการ เช่น บทความวิชาการ บทความวิจัยตลอดจนฐานข้อมูลการวิจัย เพราะแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่ว่ามานั้นถูกจัดเก็บอยู่อย่ากระจัดกระจาย ไม่สามารถสืบค้นรวมจากแหล่งเดียว
การใช้การใช้ GOOGLE SCHOLARสำหรับงานวิจัยและวิชาการเอกสารประกอบโครงการ “การพัฒนาคลังสารสนเทศสถาบันเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
1.1 คุณลักษณะของGoogle Scholar
Google Scholar เป็นการรวบรวมเอกสารทางวิชาการต่างๆ ไว้ในที่จุดๆเดียวทำให้ง่ายต่อการสืบค้นและผู้สืบค้นจะได้รับข้อมูลต่างๆ ที่ครบถ้วนสมบูรณ์นอกจากนี้Google Scholar ยังคงจัดอันดับ Impact Factor หรืองานวิจัยที่ได้รับการยอมรับเอาไว้ด้วย
1.2 การจัดทำโปรไฟล์หรือการสมัครสมาชิกของ Google Scholarมีขั้นตอนและวิธีการ ดังนี้
1.3กลไกการสืบค้นและแสดงผลของ Google Scholar
1.3.1 การใช้งาน Google Scholar เบื้องต้น
ผู้ใช้สามารถเริ่มต้นใช้งาน Google Scholar ได้เหมือน Google.com ตามปกตินั่นคือ ผู้ใช้สามารถป้อนคำค้นที่
ต้องการลงใน text box เช่น หากผู้ใช้ต้องการสืบค้นเรื่อง Digital Library in South Africa ผู้ใช้ก็สามารถป้อนคำวลีหรือประโยคที่ต้องการ เพื่อให้Google Scholar ทำการสืบค้นด่วน
1.3.2การใช้งาน Google Scholar ขั้นสูง
นอกจากการสืบค้นโดยใช้ฟังก์ชั่นการสืบค้นเบื้องต้น (Basic Search) แล้ว เพื่อให้ผลการสืบค้นมีความจ าเพาะ
เจาะจงมากยิ่งขึ้น อันเป็นผลให้ผู้ใช้ได้ทรัพยากรสารสนเทศที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น
1.4การเตรียมเอกสารดิจิทัลที่มีความเข้ากันได้กับ Google Scholar
1.4.1 การเตรียมเอกสารดิจิทัลประเภท PDF ที่มีความเข้ากันได้ (compatible) กับ search engine
โดยทั่วไปสำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดทำและเผยแพร่เอกสารบนอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะเอกสารที่อยู่ในรูแฟ้มข้อมูลดิจิทัลนั้น เอกสารประเภท PDF เป็นเอกสารอีกฟอร์แมตที่ถูกใช้เพื่อเผยแพร่ผลงานผ่านอินเทอร์เน็ต และคาดหวังว่าจะถูกค้นด้วย
1.4.2การเตรียมเอกสารดิจิทัลประเภท PDF ที่มีความเข้ากันได้กับ Google Scholar
การนำข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือ บทความวิชาการมาแสดงในรูปแบบเอกสารเว็บ จะเป็นส่วนสำคัญที่ Search Engineและ Scholar นำข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผลได้เร็วขึ้น