การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทส
การเลือกใช้สารสนเทศ
จะต้องผ่าน3ขั้นตอน
การสังเคราะห์สารสนเทศ
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี
แหล่งที่มา
ช่วงเวลาที่เผยแพร่
ทันสมัยและใกล้เคียงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหรือไม่
เผยแพร่เมื่อใด
ไห้ตรงตามความต้องการ
สารสนเทศรูปแบบใด
ต้องการสืบค้นจากแหล่งใด
พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
เนื้อหาสอดคล้องและครอบคลุมกับสาขาวิชามากน้อยเพียงใด
ไห้ความรู้ในระดับใด
พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต
เป็นโรงพิมพ์ของมหาวิทยาลัยหรือไม่
จัดพิมพ์มากน้อยเพียงใด
พิจรณาผู้แต่ง
มีคุณวุฒิและประสบการณ์มากน้อยเพียงใด
มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับหรือไม่
ความน่าเชื่อถือ
ความถูกต้อง
ความเที่ยงตรง
การประเมินสารสนเทศ
เนื้อหาอยู่ในระดับใด
ตติยภูมิ
ทุติยภูมิ
ปฐมภูมิ
มีความน่าเชื่อถือหรือไม่
เนื้อเรื่องตรงกับความหมายที่ต้องการหรือไม่
เลือกเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องที่จะศึกษา
ความสำคัญของการประเมิน
เป็นขั้นตอนการประเมินเพื่อคัดเลือกสารสนเทศจากแหล่งที่มาต่างๆ
ความหมายของการประเมิน
สารสนเทศที่ได้มาจะต้องตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ มีคำอธิบาย เอกสารอ้างอิง และความน่าเชื่อถือ
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน
ทันต่อความต้องการ
ตรวจสอบได้
เข้าถึงได้ง่าย
สอดคล้องกับความต้องการ
สมบูรณ์
น่าเชื่อถือ
มีความถูกต้อง
กระบวนการสังเคราะห์
กรณีไม่ครบต้องกลับไปท่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่
ประเมินโครงร่าง ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่
รวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในแบบโครงร่าง
นำมาจัดกลุ่มอีกครั้งเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชั้น
จัดกลุ่มที่มีแนวคิดเดียวกันอยู่ด้วยกัน
การสังเคราะห์
จัดสารสนเทศโดยทั่วไป
นำวิธีต่างๆข้างต้นมาผสมผสานกัน
ตั้งแต่ต้นจนจบ
เรียงตามช่วงเวลา
เรียงตามลำดับตัวอักษร
จัดกลุ่ม(ประเด็นใหญ่/ประเด็นย่อย)
นำเสนอสารสนเทศ
จัดสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งต่างๆ
การวิเคราะห์สารสนเทศ
กระบวนของการวเคราะห์
นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นแนวคิดเพื่อใช้ในรายงานต่อไป
ทำการบันทึกลงในบัตรบันทึก
เนื้อหาสอดคล้องกับประเด็นแนวคิดที่ต้องการ
เนื้อหาสามารถนำมาใช้ได้จริงๆ
หมายถึงกระบวนการแยกสารสนเทสที่สำคัญ และสอดคล้องที่ต้องการออกเป็นกลุ่มย่อยๆ โดยมีเนื้อหาเดียวกันอยู่ด้วยกัน หรือแหล่งที่มาเดียวกันอยู่ด้วยกัน