Categories: All - สารสนเทศ - ความรู้ - การจัดการ - ข้อมูล

by ฟารีดา ถนอมปัก 5 years ago

204

62107073fareeda thanompak

สังคมความรู้เป็นแนวคิดที่เน้นการจัดการความรู้ในชุมชนหรือองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีกระบวนการหลักที่สำคัญหลายประการ ได้แก่ การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ และการเข้าถึงความรู้ สังคมความรู้ในยุคแรกเน้นที่การใช้พลังและอำนาจของความรู้ในการแข่งขันและการพัฒนา โดยนักวิชาการและนักวิชาชีพมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้ ส่วนในยุคที่สอง ภาคส่วนต่าง ๆ มีบทบาทร่วมกันในการเป็นเจ้าของและใช้ความรู้เพื่อสร้างพลังและพึ่งตนเอง นักวิชาการและนักวิชาชีพกลายเป็นผู้เชื่อมโยงความรู้และทำงานวิจัยแบบบูรณาการ ความรู้แบ่งออกเป็นสองประเภทหลักคือ ความรู้ที่ซ่อนเร้นในบุคคลหรือ Tacit Knowledge ซึ่งได้จากประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ และความรู้ที่ผ่านการประมวลผลหรือสารสนเทศ ที่สามารถบันทึกและใช้ประโยชน์ได้ในรูปแบบต่าง ๆ ความรู้และสารสนเทศมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาสังคมและองค์กรในปัจจุบัน

62107073fareeda thanompak

สรุปบทที่ 1 สังคมความรู้ (Knowledge Society)

กระบวนการจัดการความรู้

5.การเข้าถึงความรู้
4.การประมวลและกลั่นกรองความร
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
2.การสร้างและแสวงหาความรู

ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ในแต่ละยุค

สังคมความรู้ยุคที่ 2 เ
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ท าให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณาภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา
1 สังคมความรู้ยุคที่ 1
เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ านาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมี บทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการ พัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมาก

ประเภทของความรู้

Explicit Knowledge
ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฎี คู่มือต่างๆ ในบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
Tacit Knowledge
ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการท าความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่สามารถอธิบายได้และไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นค าพูดหรือลายลักษณ์ อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท างาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็น ความรู้แบบนามธรรม

Main topic

ความรู้ (Knowledge)

สารสนเทศ (Information)
ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์นิตยสาร แผ่นพับ จุลสาร เอกสารจดหมายเหตุและวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เ
ข้อมูล (Data)
กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อน าไปใช้ประโยชน