Categories: All - ประชาชน - การเรียนรู้ - ความรู้ - การจัดการ

by Rattima Damsing 62115159 5 years ago

216

62115159Rattima Damsing

สังคมความรู้เป็นแนวคิดที่ส่งเสริมการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศในระดับสูง โดยบุคลากรในสังคมจะใช้ทักษะและความเชี่ยวชาญในการทำงาน สังคมแห่งการเรียนรู้นี้มีลักษณะเด่นที่ไม่จำกัดขนาดและเน้นการจัดการเรียนรู้ที่ประชาชนทุกคนได้รับโอกาสเท่าเทียมกัน มีการพัฒนาวัตกรรมและการริเริ่มจากภาคีเครือข่ายต่างๆ สถาบันทางสังคมในพื้นที่ทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ทุกคนในสังคมมีบทบาทเป็นทั้งครูและผู้เรียน ในกระบวนการจัดการความรู้ประกอบด้วยการบ่งชี้ การสร้าง การจัด การประมวลผล และการเข้าถึงความรู้ ซึ่งการจัดการความรู้ในองค์กรและการเรียนรู้นั้นเป็นสิ่งสำคัญ ความรู้แบ่งออกเป็นความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคล (

62115159Rattima Damsing

สังคมความรู้ Knowiedge Society

3. ลักษระสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จำกัดขนาด 3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้ 3.3 ประชาชนได้รับโอกาส 3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่ 3.5มีกลุ่มภาคประชาชน 3.6 มีการพัฒนาวัตกรรม 3.7มีภ่คีเครือข่าย 3.8การริเริ่ม 3.9สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน 3.10 ความรับผิดชอบ 3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

2.ยุคของสังคมความรู้

2.2 สังคมความรู้ยุคที่2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่2 1.มีการสะสมความรู้ภายในสังคม 2.มี่การถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม 3.มีการสร้างสรรค์
2.1 สังคมความรู้ยุคที่1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน 1.Knowledge Access คือการเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ 2.Knowledge Validation คือการประเมินความถูกต้องของความรู้ 3.knowledge Valuation คือการตีค่า การตีความ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมีความคุ้มค่า 4.Knowledge Optimization คือการทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ระเบียนต่างๆ 5.Knowledge Dissemination คือการกระจายความรู้ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้

1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้

สังคมความรู้เป็นการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูงจากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความสูง

4. ความรู้

4.2ความหมายของความรู้ 4.2.1 ประเภทรูปแบบความรู้ประเภทของความรู้ 1.Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคล 2.Explict Knowledge ความรู้ที่เด่นชัด
4.1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความรู้ 4.11 ความหมายของข้อมูล 4.12 ความหมายของสารสนเทส

5. กระบวนการจัดการความรู้

1.การบ่งชี้ความรู้ 2. การสร้าง 3.การจัดความรู้ 4.การประมวล 5.การเข้าถึงความรู้ 6.การจัดการความรู้ในองคืกร 7.การเรียนรุ้