Categories: All - บรรณานุกรม - ฐานข้อมูล - การสืบค้น

by Thanakrit Chucheep 5 years ago

297

การสืบค้นสาระสนเทศและความรู้

การสืบค้นสารสนเทศเป็นกระบวนการสำคัญในการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการผ่านฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์หรือ OPAC ซึ่งให้บริการข้อมูลที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับผู้แต่ง ชื่อเรื่อง พิมพลักษณ์ สถานภาพ เลขเรียกหนังสือ รูปเล่ม หมายเหตุ สถานที่ และหัวเรื่อง ฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิกมักรวมถึงฐานข้อมูลที่สนับสนุนการศึกษาระดับอุดมศึกษา เช่น ThaiLIS อีกทั้งห้องสมุดยังมีฐานข้อมูลทดลองให้บริการเพื่อทดลองใช้ก่อนตัดสินใจบอกรับเป็นสมาชิก ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น OPAC นั้นมีทั้งข้อมูลบรรณานุกรมที่ระบุรายละเอียดของหนังสือและข้อมูลดรรชนีวารสารที่รวมถึงบทความวารสารที่ห้องสมุดบอกรับ การสืบค้นข้อมูลดังกล่าวช่วยให้ผู้ใช้สามารถหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพและสะดวกสบาย ทั้งนี้ การเข้าใจคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องเช่น สารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ แบบบูรณาการ ข้อมูลดรรชนีวารสาร โปรแกรมค้นข้อมูล และข้อมูลบรรณานุกรม จะช่วยให้การสืบค้นเป็นไปอย่างราบรื่นและได้ผลลัพธ์ที่ตรงตามความต้องการ

การสืบค้นสาระสนเทศและความรู้

การสืบค้นสาระสนเทศและความรู้

2.รายละเอียดและตัวอย่างการสืบค้น OPAC ปรากฎในภาคผนวก ก1

2.3 ฐานข้อมูลทดลองใช้ฐานข้อมูลลักษณะนี้เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์ สารสนเทศนำมาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน
2.2 ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS (Thai Library Integrated System)
2.1 ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก

1. การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ หรือ OPAC (Online Public Access Catalog)

1.2 ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
1.2.2 ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)

- ชื่อผู้แต่ง (Author) อาจเป็นชื่อบุคคลหรือหน่วยงาน - ชื่อเรื่อง (Title) เป็นชื่อบทความวารสาร - ปี(Year) ได้แก่ ปีพิมพ์ของวารสาร - ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ (Library that have this journal) - สถานที่ (Location) บอกสถานที่เก็บและให้บริการวารสาร - ชื่อวารสาร (Journal) บอกข้อมูลเกี่ยวกับชื่อวารสาร - เลขมาตรฐานสากลประจ าวารสาร (ISSN) - หัวเรื่อง (Subject) เพื่อใช้ในการสืบค้นต่อ

1.2.1 ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)

- ชื่อผู้แต่ง (Author) - ชื่อเรื่อง(Title) - พิมพลักษณ์ (Imprint) ประกอบด้วยครั้งที่พิมพ์ (Edition) สถานที่พิมพ์ (Place) ได้แก่เมืองและประเทศ สำนักพิมพ์(Publisher) และปีที่พิมพ์(Year of publication) - สถานภาพ (Status) สถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ - เลขเรียกหนังสือ (Call number) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนทรัพยากรแต่ละ รายการ - รูปเล่ม (Description) บอกข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนหน้า ภาพประกอบ และ ขนาด - หมายเหตุ (Note) เป็นการระบุข้อมูลของทรัพยากรเพิ่มเติม เช่นมีข้อมูล บรรณานุกรม - สถานที่ (Location) เป็นการบอกว่าทรัพยากรรายการนั้นอยู่ที่ห้องสมุดใด - หัวเรื่อง (Subject) เป็นการระบุคำหรือกลุ่มคำที่ใช้แทนเนื้อหาของทรัพยากร

1.1 วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC
1.1.4 หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการ นั้นๆ
1.1.3 หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายละเอียดของรายการดังกล่าว
1.1.2 ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก
1.1.1 จากหน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้ เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู

3.การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต
5. เทคนิคอื่นๆ

เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering)

เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของคำ (Definition)

เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range)

เทคนิคการค้นกลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย * (Wildcard)

เทคนิคการค้นหาคำพ้องความหมาย (Synonyms)

เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายคำพูด “…..” (Exact phrased search)

4. เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น สามารถทำได้ 2 ลักษณะ

สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น

สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)

3. เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง
2. เทคนิคการตัดคำ สามารถทำได้ 2 ลักษณะ

การสืบค้นในลักษณะของ Stemming

การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดคำส่วน ใหญ่เป็นการตัดท้ายคำค้นที่ต้องการ

1. เทคนิคตรรกบูลลีน แบ่งได้ออกเป็น 3

การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus)

การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)

การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น

องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)
3) โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor) ทำหน้าที่เปรียบเทียบความเกี่ยวข้องระหว่างเว็บไซต์และความต้องการของผู้สืบค้น
2) ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทำหน้าที่รวบรวมคำ และ ตำแหน่งทุกๆ เพจที่ตัวสำรวจรวบรวมมาได้
1) ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot) เป็นซอฟต์แวร์ สำหรับสำรวจเว็บ
ข้อมูลมี 2 ประเภท คือ
2. เครื่องมือสืบค้น (Search engine) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทำงานของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น โดยแต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน
1. นามานุกรม (Web Directories) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศ บนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม

คำศัพท์ (Vocabulary)

Online Public Access Catalog = สารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์
Query Processor = โปรแกรมค้นข้อมูล
Periodical Index = ข้อมูลดรรชนีวารสาร
Bibliographic description = ข้อมูลบรรณานุกรม
Intregrated = แบบบูรณาการ