Categories: All

by จิรายุ ชูเขียว 6 years ago

401

แนวคิดการเขียนโปรแกรม

การเขียนโปรแกรมเริ่มจากการทำความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหา จากนั้นกำหนดแผนที่ชัดเจนเพื่อแก้ไขปัญหา การเขียนโค้ดจะทำตามแผนที่วางไว้โดยใช้ภาษาโปรแกรมที่เหมาะสม เมื่อเขียนเสร็จต้องทดสอบและตรวจสอบความถูกต้องของโค้ด โปรแกรมที่ดีต้องให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง เข้าใจง่าย และสามารถปรับปรุงได้ในอนาคต นักเขียนโปรแกรมควรมีความรักในการเขียนโปรแกรม ความคิดสร้างสรรค์ อดทน และสามารถทำงานเป็นทีมได้ การทำงานเป็นทีมจะช่วยให้โปรแกรมมีคุณภาพและเสร็จสมบูรณ์ตามเป้าหมาย การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างช่วยให้การจัดเรียงและการประมวลผลข้อมูลมีประสิทธิภาพมากขึ้น การสร้างเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้ง่ายต่อการพัฒนาต่อไปในอนาคต นักเขียนโปรแกรมที่ดีต้องมีการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่อย่างสม่ำเสมอ

แนวคิดการเขียนโปรแกรม

แนวคิดการเขียนโปรแกรม

การเริ่มต้นเขียนโปรแกรม

การเขียนโปรแกรมโดยทั่วไปแล้วคือการเขียน Code ด้วยภาษาโปรแกรมมิ่งใดๆ เช่น C, Java, Swift แล้ว compiler software จะแปลง Code นั้นให้กลายเป็นรูปแบบที่ Computer เข้าใจ จากนั้นพออยากใช้งานโปรแกรมนี้เราก็สั่งให้ Computer run มันก็จะส่งผลลัพธ์ออกมา (write -> compile -> run) การหัดเขียนภาษาโปรแกรมก็คล้ายๆ กับการเรียนภาษาต่างประเทศ ต้องรู้จักคำศัพท์ และไวยกรณ์ต่างๆ แต่พอรู้จักภาษานึงแล้ว ภาษาอื่นๆก็จะคล้ายๆกัน เพราะงั้นตอนเริ่มต้นก็แค่ศึกษาภาษานึงให้ชำนาญ แล้วภาษาอื่นก็จะเรียนได้เร็วขึ้น
2. การเขียนโปรแกรมเชิงสร้างสรรค์เกี่ยวกับการสร้างรายละเอียดของปัญหาในการเขียนโปรแกรมเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางที่กำหนดไว้ สิ่งที่เป็นไปได้และคลาสสิคจะสามารถรับรู้ได้ สมบัติไปยังคลาสย่อยต่างๆที่เรียกว่าคลาสได้ด้วยคุณสมบัติดังกล่าวจำทำให้เกิดการนำมาใช้ใหม่ที่ทำให้ลดขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมลงได้โดยเฉพาะโปรแกรมขนาดใหญ่ที่มีความซับซ้อนสูง
1. การเขียนโปรแกรมเชิงรุกในการจัดการคำสั่งต่างๆให้มีรูปแบบและมาตรฐานที่สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายอีกทั้งยังตรวจสอบการทำงานของโปรแกรมได้โดยไม่ต้องยุ่งยากและง่ายต่อการปรับปรุงในอนาคตคือ พื้นฐาน 3 คือ
1.3 แบบฟอร์มจะทำซ้ำในหลายรูปแบบโดยจะเริ่มต้นจากข้อมูลที่ต้องการ
1.2 แบบฟอร์มทางเลือกในการตัดสินใจเลือกหนึ่งที่มีเงื่อนไขและมีการตรวจสอบว่าเป็นค่าใช้จ่ายจริงหรือค่าใช้จ่ายแล้วดำเนินการตามคำสั่งที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้
1.1 แบบฟอร์มเป็นชุดคำสั่งคำสั่งชุดคำสั่ง

ลักษณะของโปรแกรมที่ดี

1. ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องตามความต้องการ 2. ตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบของข้อมูลได้ 3. รูปแบบของโปรแกรมสามารถทำความเข้าใจได้โดยง่าย โดยโปรแกรมที่เขียนขึ้นควรมีรูปแบบการประมวลผลอย่างเป็นระบบ และมีคำอธิบายที่ช่วยให้เข้าใจได้ดียิ่งขึ้น 4. เอื้ออำนวยต่อการปรับปรุงแก้ไขที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต และต้องมีเอกสารประกอบโปรแกรมที่พัฒนาด้วย

คุณลักษณะของนักเขียนโปรแกรมที่ดี

นักเขียนโปรแกรมหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โปรแกรมเมอร์นั้น ควรจะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ จึงจะเรียกได้ว่าเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดี · รักและชอบในการเขียนโปรแกรม · มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และที่จะเรียนรู้ · มีความอดทนต่อการเขียนโปรแกรม ซึ่งบางครั้งอาจต้องใช้เวลานานในการเขียนโปรแกรม · ต้องรู้จักการทำงานเป็นทีมหรือเป็นกลุ่มคณะ ซึ่งการพัฒนาโปรแกรมที่ใหญ่ ๆ อาจต้องมีการทำงานกันเป็นทีม ต้องมีการแบ่งงานกันทำเป็นส่วน ๆ แล้วจึงจะนำมารวมกันทีหลัง ผลงานที่ออกมาจะต้องเป็นผลงานส่วนรวมของทั้งทีม ไม่ใช่ของคนใดคนหนึ่ง ดังนั้นจึงต้องรู้จักการถ่ายทอดความรู้ ความคิดเห็นให้แก่คนในทีมงานเดียวกัน · ต้องหมั่นทำเอกสารประกอบโปรแกรมไว้ตลอด เพื่อให้ง่ายต่อการพัฒนาต่อไปในภายหลัง

หลักการเขียนโปรแกรม

1. ทำความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหา 2. กำหนดแผนในการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรมตามแผนที่กำหนด 4. ทดสอบและตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม 5. จัดทำคู่มือและเอกสารการใช้โปรแกรม

การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง

3. ทำแบบจำลองซ้ำกับการตรวจสอบการทำงานของวงจรที่มีรูปแบบของการวนซ้ำที่เกิดขึ้นค่าเริ่มต้นแล้วในการตรวจสอบว่าเป็นจริงแล้วจะเป็นแบบวนซ้ำหรือไม่คำตอบสำหรับคำ สั่ง
2. เลือกแบบที่มีทางเลือกที่จะต้องมีการทดสอบโดยมีทางเลือกในการเลือกรูปแบบที่เลือก การเลือกเส้นทางหลายเส้นทางสำหรับการเดินเพียงเส้นทางเดียวเท่านั้น
1. การจัดเรียงลำดับชั้นที่มีลักษณะการทำงานตามลำดับก่อนโดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง