Categories: All - เศรษฐกิจ

by Sudarut Henphonngam 5 years ago

325

Conceptual and Theoretical of Population

แนวคิดเกี่ยวกับประชากรมีหลากหลายแง่มุมและได้รับการพัฒนามาเรื่อยๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นักปราชญ์จากหลายวัฒนธรรมได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมและการจัดการประชากร ตัวอย่างเช่น แนวคิดของชาวฮีบรูและชาวจีนโบราณที่เชื่อว่าสงครามและโรคระบาดสามารถควบคุมจำนวนประชากรได้ นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงการสมรสที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงและการสมรสก่อนวัยที่เหมาะสม ซึ่งมีผลต่ออัตราการตายของทารกและการลดลงของอัตราการสมรส นักปราชญ์มุสลิม เช่น Ibn Khaldoun ได้เสนอว่าการเปลี่ยนแปลงประชากรสัมพันธ์กับภาวะทางเศรษฐกิจ ส่วนชาวโรมันได้ส่งเสริมการเพิ่มจำนวนประชากรเพื่อความยิ่งใหญ่ของประเทศ ในยุคกลางและสมัยใหม่ แนวคิดทางคณิตศาสตร์การเมืองโดย Sir William Petty และ Sussmilch ได้มองว่าประชากรเป็นทุนมนุษย์และสามารถเพิ่มขึ้นในรูปแบบเรขาคณิต ในขณะที่ Plato และ Aristotle ในยุคกรีกตอนต้นได้กำหนดจำนวนประชากรที่เหมาะสมสำหรับนครรัฐเพื่อความมั่นคงและการพัฒนา

Conceptual and
Theoretical of Population

Conceptual and Theoretical of Population

Concept of Population

แนวคิดทางคณิตศาสตร์การเมือง
Sussmilch กล่าวว่า ประชากรจะเพิ่มในลักษณะที่เป็นอนุกรม เรขาคณิต (Geometric progression)
Sir William Petty นำหลักการทางคณิศาสตร์เศรษฐศาสตร์และ การเมือง มาสร้างทฤษฎีซึ่งเน้นไปที่ ประชากร เป็นทุนมนุษย์
แนวคิดของสำนักลัทธิพาณิชย์นิยม
ไม่ให้ความสำคัญในเรื่องคุณภาพประชากร
ส่งเสริมให้มีการสมรส และถ้ามีประชากรเพิ่มมากเกินไป ก็จะ แก้ปัญหานั้นด้วยการส่งประชากรอยู่ไปอยู่ยังประเทศอาณานิคม
เน้นประโยชน์ที่ได้จากการมีจำนวนประชากรเพิ่มมาก ว่าเป็นการเพิ่ม บุคคลที่อยู่ในวัยแรงงาน ซึ่งจะทำให้ค่าจ้างแรงงานถูก
พิจารณาประชากรในแง่ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ การเมืองและ การทหาร
แนคิดของกลุ่มมุสลิม
นักปราชญ์สำคัญของกลุ่มมุสลิม คือ (Ibn khaldoun) ได้เสนอแนวคิดทางประชากรไว้

การเปลี่ยนแปลงประชากร สัมพันธ์กับภาวะทางเศรษฐกิจ เช่น ช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจที่รุ่งเรือง การเพิ่มประชากรก็จะสูง

ในที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น จะนำไปสู่ฐานะความเป็นอยู่ ที่สูงขึ้น และก่อให้เกิดความมั ่นคง

แนวคิดของกลุมคริสเตียน
ยกย่องสรรเสริญความเป็นหญิงพรหมจารีความรู้สึกอดกลั้นต่อ ความต้องการทางเพศ ความละอายต่อการสมรสครั้งที่สอง
ประนามการสมรสที่มีภรรยาได้หลายคน การหย่าร้าง การทำ แท้ง การฆ่าทารก และการกำจัดชีวิตเด็ก
แนวคิดของฮีบรู(ยิว)
มีการระบุว่า จำนวนประชากร ที่มากเกินไป สามารถถูกควบคุมได้ด้วย สงคราม โรคระบาด และการ ย้ายถิ่นฐาน
แนวคิดสมัยจักรวรรดิโรมัน
ทรรศนะของชาวโรมันที่เกี่ยวข้องกับภาวะประชากร คือ เพื่อความยิ่งใหญ่ของประเทศ การขยายอำนาจ กำลังพลทางทหาร ดังนั้น กฎหรือข้อบังคับส่วนใหญ่จึงเป็นการส่งเสริมการเพิ่มจำนวน ประชากร
แนวคิดสมยักรีกตอนต้น
(Plato and Aristotle) ได้พยายามกำหนดจำนวน ประชากรที่เหมาะสมสำหรับนครรัฐ (city-stage) ในสมัยนั้น โดยนคร รัฐในอุดมการณ์จะต้องมีประชากร 5,040 คนเท่านั้น และได้เสนอการรักษาระดับประชากรไว้ ดังนี้

กรณีมีประชาการมากเกินไป

ให้มีการคุมจ านวนบุตรเกิดสำหรับครอบครัวใหญ่ และขยายอาณานิคม

กรณีมีประชากรน้อยเกินไป

ให้อิสระในการย้ายถิ่นฐานเข้ามาในนครรัฐ

ส่งเสริมการสมรส โดยการให้สินจ้าง ส่งเสริมแนวคิดการมีภรรยาหลายคน

แนวคิดของนักปราชญจีนโบราณ
ประเพณีการสมรสที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงในพิธีสมรส จะทำให้อัตราการ สมรสลดลง
ภาวะสงคราม ทำให้อัตราเพิ่มของประชากรเปลี่ยงแปลงได้
การสมรสก่อนการมีระดับวุฒิภาวะที่เหมาะสม จะทำอัตราตายของ ทารกสูง
อัตราตายของประชากรจะสูงขึ้นเมื่อการผลิตอาหารไม่เพียงพอ
แนวคิดสมยัโบราณ และสมัยกลาง
มีข้อสรุปที่ว่า การเพิ่มจำนวนประชากรมากไปนั้น อาจจะ ทำให้ผลผลิตต่อประชากรที่ทำงานหนึ่งคนลดลง และจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อ มาตรฐานการครองชีพที่ต่ำลงเช่นกัน

Theoretical of Population

The Cultural Population Theories
เป็นทฤษฎีที่อาศัยวัฒนธรรมและ สังคมเป็นมูลฐานในการอธิบาย การจำกัดอัตราการเกิดกล่าวคือการจำกัดอัตราการเกิดขึ้นอยู่กับ จิตใจ
ทฤษฎีสังคมนิยม
นักสังคมนิยม มีความคิดเห็นขัดกับมัลธัสที่ว่า ประชากรสามารถเพิ่ม ได้โดยการเพิ่มผลผลิตหรือการระดมทุนให้สูงขึ้น และการเพิ่มประชากรจะนำไปสู่ การปฏิรูปสังคมซึ่งจะท าให้ขยายการผลิต และประชากรมีโอกาสเข้าร่วมในการ ผลิตมากขึ้น เป็นการป้องกันการว่างงาน และการมีประชากรมากเกินไป
Thomas Robert Malthus
ความมั่งคั่งจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริงก็ต่อเื่อมีการเพิ่มขึ้นในทุน
พื้นดินที่อุดทสมบูรณ์ก็สามารถเพิ่มความมั่งคั่งได้

CHARACTERISTIC

RELIGION
ไม่ว่าจะศาสนาใดก็ต่างมีหลักการคิดและการหาคำตอบต่างกันในแต่ละปลีกย่อยของศาสนา
EDUCATION
การศึกาาจะทำให้คนมีความรู้ ความคิด ตลอดไปจนถึงการทำความเข้าใจกับสิ่งต่างได้
การศึกษา หมายถึง การได้รับการศึกษาจากสถาบันการศึษา และประสบการณ์ของชีวิต
OCCUPATION
อาชีพ หรือลักษณะแห่งการรวมกลุ่ม จะบ่งบอกถึงลักษณะแต่ละบุคคลที่ต่างอาชีพกันได้
AGE
การชักจูงจิตใจหรือโน้มน้าวจิตใจของคนจะยากขึ้นตามอายุของคนที่เพิ่มขึ้น ด้วย
อายุที่เพิ่มขึ้นของเด็ก จะท าให้มีความคิดรอบคอบเพิ่มมากขึ้น การ ตอบสนองต่อการติดต่อสื่อสารเปลี่ยนไปเมื่อตนเองมีอายุมากขึ้น
ชี้ให้เห็นอารมณ์ที่แตกต่างกัน
เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความสนใจในประเด็นต่างๆ
เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความสามารถในการท าความเข้าใจในเนื้อหาและ ข่าวสารรวมถึงการรับรู้ต่างๆ