Categories: All - เทคโนโลยี

by Thanawit Chueanut 5 years ago

1177

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

การศึกษาในวิทยาศาสตร์ชีวภาพเน้นการทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในหลายด้าน เช่น การดัดแปรพันธุกรรม การรักษาโรคทางพันธุกรรม และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิสมีความสำคัญในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การควบคุมยีนแบบมัลติเปิลแอลลีนและยีนบนโครโมโซมเพศ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในระบบนิเวศ รวมถึงการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ความรู้ทางชีวภาพเหล่านี้มีความสำคัญในการพัฒนาความเข้าใจและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่ส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

. มาตรฐาน ว ๑.๒ (หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต พืช สัตว์)

เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลําเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของอวัยวะต่างๆของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กันรวมทั้งนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ 

การตอบสนองของพืช

การเจริญเติบโตของพืช

ภูมิคุ้มกัน

การควบคุมดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

การควบคุมดุลยภาพของอุณหภูมิ

การควบคุมดุลยภาพของกรด- เบส

การควบคุมดุลยภาพของน้ำและสารในเลือด

เซลล์และการลำเลียงสาร

ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์

ระบบสืบพันธ์ุ

ระบบประสาท

ระบบหมุนเวียนเลือด

ระบบขับถ่าย

ระบบหายใจ

การขยายพันธุ์พืชและเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ธาตุอาหารที่จำเป็นของพืช

การสืบพันธุ์พืชดอก

ไซเล็ม โฟลเอ็ม และการลำเลียงน้ำและสารอาหาร

การสังเคราะห์แสง

หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชวิต

การลำเลียงสารเข้าออกเซลล์

การจัดระบบของสิ่งมีชีวิต

การใช้กล้องจุลทรรศน์เพื่อศึกษาเซลล์

รูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง และหน้าที่ของเซลล์

ระบบย่อยอาหาร

อาหารและสารอาหาร

พืช (พืชดอก)

หน้าที่ของส่วนต่างๆ

ดอก

ใบ

ลำต้น

ราก

วัฏจักรชีวิตของสัตว์

ปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย์และสัตว์

วัฏจักรชีวิตของพืชดอก

ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช (น้ำ แสง)

พืช

สัตว์

การดูแลส่วนต่างๆของร่างกาย

การทำหน้าที่ร่วมกันของของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์

ลักษณะและหน้าที่ของส่วนต่างๆ

มาตรฐาน ว ๑.๓ . (พันธุกรรม)

เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความ หลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ 

ความหลากหลายและวิวัฒนาการ

เทคโนโลยีดีเอ็นเอ

มิวเทชัน

ควบคุมโดยยีนแบบมัลติเปิลแอลลีน

ควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมเพศ

สารพันธุกรรม (ยีน การสังเคราะห์โปรตีน และลักษณะทางพันธุกรรม)

ความหลากหลายทางชีวภาพ

สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม

โรคทางพันธุกรรม

การเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แบบลักษะเดียวที่แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์

สารพันธุกรรม (ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม) การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

การจำแนกสิ่งมีชีวิต (กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์)

กลุ่มสัตว์

สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

สัตว์มีกระดูกสันหลัง

กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

กลุ่มนก

กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน

กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

กลุ่มปลา

กลุ่มพืช

พืชไม่มีดอก

พืชดอก

เปรียบเทียบลักษณะของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต

มาตรฐาน ว ๑.๑ (ระบบนิเวศ)

เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ 

ชั้นมัธยมศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางกายภาพและทางชีวภาพที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร

การเปลี่ยนแปลงแทนที่

ชีวนิเวศ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

สายใยอาหาร และบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตในโซ่อาหาร

สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การสะสมสารพิษในโซ่อาหาร

บทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต

การถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต

องค์ประกอบของระบบนิเวศ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ชั้นประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและสิ่งมีชีวิต กับสิ่งไม่มีชีวิต

โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตซึ่งมาจากการ ปรับตัว

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตว์

พืชและสัตว์ในบริเวณต่างๆ