Categories: All - ประชาชน - สารสนเทศ - การเรียนรู้ - ความรู้

by James Ez 6 years ago

155

G7_61107736

การทำความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้สามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภท อาทิ ข้อมูลที่ยังไม่ได้แปลความ สารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ และความรู้ที่เกิดจากการตัดสินใจและประสบการณ์ โดยข้อมูลมีหลายรูปแบบ เช่น กราฟฟิก ตัวอักษร และเสียง ในส่วนของความรู้แบ่งเป็นความรู้ที่ซ่อนอยู่ในบุคคลและความรู้ที่ชัดเจนที่ผ่านการรวบรวม สำหรับการเรียนรู้นั้นมีลักษณะการเรียนรู้ที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และการมีนวัตกรรมเข้ามาเสริม การเรียนรู้ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ โดยมีสถาบันทางสังคมและสถานศึกษาเป็นตัวหลักในการดำเนินการ นอกจากนี้ยังเน้นถึงกระบวนการจัดการความรู้ที่เป็นระบบ การบ่งชี้ความรู้ที่ชัดเจนและการทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต

G7_61107736

G7_61107736

เนื้ิอหา

5. กระบวนการจัดการความรู้
7.การเรียนรู้ ควรท าให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
6.การจัดการความรู้ในองค์กรและการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
5.การเข้าถึงความรู้
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
2.การสร้างและแสวงหาความร
1.การบ่งชี้ความรู้ให้ทะลุเป้าหมาย
4. ความรู้
4.3. ประเภทความรู้

ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดมา แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

Explicit Knowledge

ความเด่นชัดเป็นความรู้ที่รวบรวมผ่านวิธีการต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบเชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฏี

Tacit knowledge

ความรู้ที่ช่อนอู่ในแต่ละบุคคลเป็นความรู้ที่ได้มาจากประสบการณ์

4.2. ความหมายของความรู้

ส่วนผสมของความรู้เกิดจากการทำงานการไหลเวียนของความรู็สึก จากการตัดสินใจโดยนำมาศึกษา เพื่อหาข้อเท็จจริงและขัดเกรา การใช้สารสนเทศเหล่านั้นให้มีความสัมพันธ์กัน และเข้าใจในเนื้อหา และสามารถนำไปเพิ่มได้อย่างไม่จำกัด

4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความรู้

บางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งทั้ง 3 คำมีความหมายสัมพันธ์กันดังนี้

4.1.2. ความหมายของสารสนเทศ

เป็นการถ่ายทอดข้อมูลความรู้

เป็นแก่นเนื้อหาที่สำคัญ

เป็นข้อมูลที่ถูกวิเคราะห์และตีความแล้ว

ข้อมูลมีคุณค่าและประโยชน์

4.1.1. ข้อมูล

ลักษณะที่ยังไม่ได้แปลความ

ความเป็นไปได้หรือข้อเท็จจริง

แบ่งได้ 5 ประเภทดังนี้

เสียง

ภาพลักษณ์

กราฟฟิก

ตัวอักษรข้อความ

ตัวเลข/จำนวน

ข้อมูลเชิงบรรยายและปริมาณ

ข้อลูลดิบ

3. ลักษณะแห่งการเรียนรู้
ทุกคนเป็นครูฝึกและผู้เรียน
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ร่วมกัน
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้
มีการริเริ่มและการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
มีหุ่นส่วนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
มีการพัฒนานวัตกรรมและการเรียนรู้
มีประชาชนเป็นแกนกลาง
สถาบันทางสังคมเป็นตัวหลักในการดำเนินการ
ประชาชนได้รับโอกาสในการพัฒนา
เน้นการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่
2. ยุคของความรู้
แบ่งเป็น 2 ยุค คือ

2.2. ยุคที่2

เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียงสมดุล ประชาชนทุกคนมีบทบาทร่วมกันเป็นเจ้าของและมีอิสระ ซึ่งมีลักษณะสำคัญ คือ

ประยุกต์ใช้ความรู้

สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ๆ

ถ่ายโอนความรู้

สะสมความรู้ภายในสังคม

เป็นสังคมที่มีพลังอำนาจเข้าใจกัน เกิดการผลิตและมีากรแข่งขันทางตลาดและความอยู่รอด

2.1. ยุคที่1

1. นิยามหรือความหมายของความรู้
เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนให้บุคคลหรือสมาชิกในสังคมเกิดการเรียนรู้ผ่านสื่อ โดยสร้างสรรค์ให้เครื่องมือตัดสินใจ
ความหมาย

บทนำ

สังคมความรู้ เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลหรือสถาชิกในชุมชน ผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งความรู้ องค์ประกอบต่างๆโดยพัฒนาสังคมให้นำไปสู่ความรู้ ที่จะนำไปสู่การพัฒนาต่อไป

บทสรูป

นับว่าเป็นสิ่งจำเป็นในสังคมความรู้ผู้ที่มีความสามารถได้ดีจะช่วยให้พัฒนาตนเองให้มีความรู้

คำศัพท์ที่ไม่รู้จัก

ICT Connectivity = การเชื่อมต่อ ICT
Knowledge Access = การเข้าถึงความรู้
Management = การจัดการ
Definition = คำนิยม
Knowledge Society = สังคมความรู้

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

อธิบายจัดการความรู้ได้
อธิบายความหมายได้
อธิบายลักษณะสำคัญในแต่ละยุคได้