Categories: All - การประเมิน - การกระจาย - การเข้าถึง - นวัตกรรม

by Boonlaporn Thamniam 6 years ago

217

G7_61112256

สังคมความรู้เป็นสังคมที่เน้นการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศและทักษะความรู้สูง โดยมีการสะสมและถ่ายโอนความรู้ภายในสังคมอย่างต่อเนื่อง การประเมินความถูกต้องของความรู้และการทำให้ความรู้ง่ายต่อการใช้งานเป็นกระบวนการสำคัญเพื่อให้ความรู้นั้นมีคุณค่าและสามารถกระจายได้อย่างมีประสิทธิภาพ สังคมนี้ยังมีความพยายามในการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ และมีการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคมโดยรวม ลักษณะของสังคมความรู้ยังรวมถึงการริเริ่มและการเปลี่ยนแปลงที่มีอยู่ตลอดเวลา การเน้นการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก และการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ นอกจากนี้ สถาบันทางสังคม กลุ่มภาคประชาชน และกลุ่มภาคีเครือข่ายมีบทบาทสำคัญในการดำเนินกิจกรรมพัฒนาชุมชน การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกที่และทุกเวลาโดยไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง และความรับผิดชอบในการพัฒนาความรู้เป็นหน้าที่ร่วมกันของบุคคลและชุมชน

G7_61112256

-----สังคมความรู้ (Knowledge Society)

2. ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Society Era)

สังคมความรู้ยุคที่ 2
ลักษณะ

4. มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

3.มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

2. มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม

1. มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

สังคมความรู้ยุคที่ 1
5. Knowledge Dissemization

การกระจายความรู้

4. Knowledge Optimization

การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

3. Knowledge Valuation

การตีค่า การตีความรู้

2. Knowledge Validation

การประเมินความถูกต้องของความรู้

1. Knowledege Access

เข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

1. นิยาม (Definition of Knowledge Society)

ความหมาย
สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะความรู้สูง หรือ กระบวนทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ผ่านสื่อต่างๆ

5. กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

7. การเรียนรู้
6. การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
5. การเข้าถึงความรู้
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
2. การสร้างสรรคืและแสวงหาควมรู้
1. การบ่งชี้ความรู้

4. ความรู้

ประเภทของความรู้
2. Explicit Knowledge
1. Tacit Knowledge
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ "ความรู้"
ความหมายของความรู้(Definitition Knowledege)
ความหมายของสารนเทศ(information)
ความหมายของข้อมูล(data)

3. ลักษณะของสังคมความรู้

11. ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
10. ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนรวมกัน
9. สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
8. การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
7. มีกลุ่มภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
6. มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
5. มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
4. สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการ ริเริ่ม/ดำเนินการ(Key Intitutions)
3. ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key individuals)
2. เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
1. ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง