by Nanthiphat _215 2 months ago
113
More like this
กิจกรรมการพยาบาล 1. ดูแล perinem ให้สะอาดอยู่เสมอ ดูแลผ้าปูที่นอนให้สะอาดแห้งและเรียบตึงอยู่เสมออาจเสริมที่นอนฟองน้ำหรือที่นอนลม (Apha- bed)ให้ผู้ป่วยเพื่อช่วยกระจายแรงกดทับไม่ให้กดผิวหนังบริเวณหนึ่งบริเวณใดมากเกินไป 2. ดูแลและสอนญาติให้นวดหลังและผิวหนังบริเวณที่มีปุ่มกระดูกเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต ถ้าผิวหนังแห้งให้ทาน้ำมันหรือโลชั่น ช่วยให้ผิวหนังมีความชุ่มขึ้นขึ้น 3.พลิกตะแดงตัวอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง การเลื่อนตัวผู้ป่วยขึ้นหัวเตียงการพลิกตะแดงตัวผู้ป่วยควรทำด้วยความนุ่มนวลไม่ควรให้ผิวหนังดูเสียดสีกับที่นอนเพราะจะทำให้เกิดแผลถลอกได้ง่าย 4.ดูแลส่วนต่างๆ ของร่างกายให้อยู่ในท่าที่ถูกต้องโดยใช้เครื่องช่วย เช่น ใช้หมอนรอง 5.บริหารข้อต่างๆ กระดกข้อเท้า เหยียดแขนขา 10-15 ครั้ง 6.กระตุ้นให้ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว และกระตุ้นให้รับประทานผักและผลไม้ให้มาก ๆโดยสร้างความตระหนักถึงโทษของการเกิดท้องผูก 7. ดูแลให้ได้รับยาระบายหรือสวนอุจจาระเมื่อจำเป็นตามแผนการรักษา 8. สังเกตความถี่ปริมาณ และลักษณะอุจจาระที่ขับถ่ายออกมา
ผู้ป่วยขับถ่ายอุจาระ น้อยกว่า3 ครั้งต่อสัปดาห์ ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยเนื่องจาก ปวดต้นขาซ้าย on SkinTraction ขาซ้าย
กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินอาการท้องอืดของผู้ป่วย เช่น ระดับความแน่นท้อง, ความถี่ของการเรอหรือผายลม, เสียงลำไส้ เพื่อระบุความรุนแรงของอาการและหาสาเหตุที่เป็นไปได้ในการแก้ไข 2.กระตุ้นให้ผู้ป่วยขยับร่างกายและปรับศีรษะสูง 30-45 องศา ประมาณ 15-30 นาที หลังรับประทานอาหาร เนื่องจากการเคลื่อนไหวช่วยกระตุ้นการทำงานของลำไส้ ลดการสะสมของแก๊ส 3.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น อาหารที่ก่อให้เกิดแก๊ส (ถั่ว, น้ำอัดลม, อาหารมัน), อาหารที่ย่อยยาก เนื่องจากลดการเกิดแก๊สในระบบทางเดินอาหาร ป้องกันอาการท้องอืดซ้ำ 4.เปิดสาย NG ให้สามารถระบายแก๊สได้ โดยใช้ Syringe ปล่อยลมออก เนื่องจากช่วยลดแรงดันในกระเพาะอาหารและบรรเทาอาการแน่นท้อง 5.กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำให้เพียงพอ อย่างน้อย 6-8 แก้วต่อวัน เนื่องจากน้ำช่วยทำให้อุจจาระนิ่ม ลดโอกาสการเกิดท้องผูกที่อาจทำให้ท้องอืดรุนแรงขึ้น 6..สอนเทคนิคการนวดหน้าท้องเบา ๆ ตามเข็มนาฬิกา เนื่องจากช่วยกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้ ลดอาการแน่นท้อง
-หน้าท้องตึงแข็ง - Bowel sound อัตราไม่สม่ำเสมอ 7-8 ครั้ง/นาที -ปริมาณ gastric content ผู้ป่วยมีแก๊สในกระเพาะอาหาร 100 cc
กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดดำ ส่วนลึกอุดตัน 2. ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะหลอดเลือด ดำส่วนลึกอุดตันทุก 8 ชั่วโมง ได้แก่ ขาบวมข้างเดียว (unilat-eral leg swelling) ปวดที่ขาข้างเดียว Homan's sign แสดงผลบวก ผิวหนังแดงและอุณหภูมิที่ ผิวหนังสูงขึ้น สังเกตเห็นหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นใต้ ผิวหนังได้ชัดขึ้น' และสอบถามอาการปวดน่อง ชา หรือ เป็นตะคริว อาการกดเจ็บบริเวณน่องหรือขาหนีบ ทุกเวร 3. วัดเส้นรอบวงต้นขาและน่อง ทุกวันวันละ 1 ครั้ง ถ้า พบว่า กระตุ้นให้ดื่มน้ำ 2000มิลลิตรต่อวัน เพื่อเพิ่ม การไหลเวียนโลหิต 4. กรณีไม่มีข้อห้ามต่อการขยับข้อ กระตุ้นให้ผู้ป่วยออก กำลังกายชนิดคงพิสัยข้อแบบทำด้วยตนเอง (active range of motion) หรือให้ผู้อื่นช่วยบางส่วน (active assistive ROM)โดยใช้ท่ากระดกข้อเข่าขึ้นลง (ankle pump) การหมุน ข้อเท้า (ankle cycle) และเลื่อนเท้าขึ้นลงบนเตียง (ankle slide) อย่าง น้อยท่าละ 15 ครั้ง 2 รอบต่อวัน กรณีผู้ป่วยสามารถลุกขึ้นยืนเดินเองได้ ควรแนะนำให้ลุก ออกจากเตียง แล้วเริ่มยืนเดินให้เร็ว ที่สุด"
-On skin traction ขาข้างซ้าย -ไม่ค่อยขยับตัวน้อย
ผู้ป่วยว่าไม่ค่อยได้ขยับร่างกายเพราะผู้ป่วยบ่นเหนื่อย
กิจกรรมการพยาบาล 1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจร สีของเล็บปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวลักษณะการซีด เขียว 2. ประเมินสัญญาณชีพ อาการและอาการแสดงโดยเฉพาะลักษณะการหายใจ และระดับความรู้สึกตัว และ O2 sat ทุก 1 ชั่วโมง เมื่ออาการคงที่ปรับเป็นทุก 4 ชั่วโมง 3. จัดท่านอนผู้ป่วยใน high fowler's position เพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อนตัว ปอดขยายตัวได้ดีขึ้นเพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ 4. ดูแลให้ได้รับ On O2 Cannula 3 LPM ไม่ควรให้เกิน 3 LPM เพราะหากให้มากกว่าการแลกเปลี่ยแก๊สจะไม่เพียงพอตามแผนการรักษาของแพทย์ 5.หากจำเป็นต้องให้ออกซิเจนมากกว่า 3 ลิตร/นาที ควรใช้ Venturi Mask ซึ่งสามารถควบคุมความเข้มข้นของออกซิเจนได้แม่นยำ (24-28%) เพื่อให้ปอดได้แลกเปลี่ยนก๊าซได้เต็มที่ 6. รายงานแพทย์เมื่อ เหนื่อยหอบมากขึ้น และO2 sat มีแนวโน้มลดลง 7.ดูแลให้ยาพ่น ตามแผนการรักษาของแพทย์ 8. ติดตามผล lab การตรวจ x-ray ผลการตรวจเลือด และผลการตรวจ sputum ตามแผนการรักษาของ แพทย์
- มีภาวะอาการเสดงของโรคCOPD - oxygen sat < 90 % -HGB 12.0 g/dl (21/02/2568) - HCT 36.5 % (21/02/2568)
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็น COPD
จะเกิดแรงต้านภายในหลอขยายเพิ่มมากขึ้น ส่งผลต่อการทำงานของหัวใจและอาจส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจชีกขวาล้มเหลวและจะมีอาการเฉียบพลันเมื่อมีสิ่งกระตุ้นมากเกินที่ปอดจะกำจัดได้ร่วมกับไม่รับประทานยาต่อเนื่องทำให้มีการอักเสบและมีการสร้างมูกเพิ่มขึ้นทำให้การแลกเปลี่ยนแก๊สลดลงส่งผลต่อระบบต่างๆ
กิจกรรมการพยาบาล 1.พยาบาลสร้างสัมพันธภาพที่ดีพูดคุยด้วยท่าทางที่อ่อนโยน ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวลให้ผู้ป่วยไว้วางใจและเชื่อมั่นในการพยาบาล แนะนำเจ้าหน้าที่ในทีมสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยและญาติ 2. อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงภาวะที่ผู้ป่วยเผชิญอยู่ เช่นหายใจหอบเหนื่อย เสมหะจำนวนมากให้เข้าใจถึงการดำเนินของโรค ขั้นตอนการรักษาพยาบาล การตรวจวินิจฉัยต่างๆ อธิบายให้ทราบถึงเครื่องมือที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องใช้ ให้ทราบถึงประโยชน์และผลของการได้รับ 3. เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติได้ซักถามเกี่ยวกับปัญหา สิ่งที่กังวลใจรับฟังปัญหาของผู้ป่วย ด้วยความตั้งใจ เข้าใจยอมรับพฤติกรรมก้าวร้าวของผู้ป่วยด้วยท่าทางที่เป็นมิตร แสดงออกให้ทราบว่าพยาบาลเข้าใจความรู้สึกกังวลของผู้ป่วยและญาติ ไม่ละเลยต่อความเครียดและความ วิตกกังวลของผู้ป่วย ให้ข้อมูลที่ญาติสงสัย จัดสถานที่ให้ญาติร่วมปรึกษากับแพทย์ อำนวยความสะดวกตามความเหมาะสม 4. ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด สัมผัสผู้ป่วยด้วยท่าทีที่อบอุ่นเป็นมิตร บอกให้ผู้ป่วยรู้ว่าให้การ ช่วยเหลืออย่างเต็มที่เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัย 5. อธิบายสิ่งที่ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติเพื่อดูแลตนเองในขณะที่ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ แนะนำให้ผู้ป่วยรู้จักวิธีติดต่อสื่อสาร เช่นการใช้มือทำสัญลักษณ์ต่างๆที่สามารถสื่อสารให้เข้าใจตรงกันได้ 6.ให้ญาติที่ผู้ป่วยต้องการให้เยี่ยมเข้าเยี่ยม เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความอุ่นใจ มีกำลังใจ อธิบายให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการรักษาพยาบาล
-ผู้ป่วยมีสีหน้าแววตา ท่าทางกังวล -ญาติมีสีหน้าวิตกกังวล สอบถามว่าคุณตาสามารถหายจากอาการที่เป็นอยู่มั้ย
ญาติบอกว่ากังวลมากกลัวผู้ป่วยจะไม่หาย เพราะผู้ป่วยไม่เคยป่วยหนักขนาดนี้
- ผู้ป่วยชอบนอนตามสบาย ไม่ถูกท่าของการใส่ skin trac-tion
ผู้ป่วยบอกว่าไม่เข้าใจการปฏิบัติตัว
กิจกรรมการพยาบาล 1. ดูแลให้อาหารทางสายยาง ให้ ถูกต้อง ครบถ้วนตามแผนการ รักษา คือ อาหาร Blenderized 5 มื้อๆ ละ 400 ซีซี เพิ่มไข่ขาว วันละ 3 ฟอง 2. ดูดเสมหะก่อนให้อาหาร ทุกครั้ง เพื่อป้องกันผู้ป่วยไอ สำลัก ขณะให้อาหาร 3. จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงก่อน ให้อาหารและหลังอาหารประมาณ ครึ่งชั่วโมง เพื่อป้องกันการสำลัก อาหารได้ง่าย 4. ดูแลความสะอาดของอาหาร เครื่องใช้ในการให้อาหาร รวมทั้ง วิธีการให้อาหารที่ถูกต้องเพื่อป้องกันอาการท้องเสีย 5. หากมีปัญหาอาหารค้างใน กระเพาะอาหารจำนวนมาก (เกิน 50 ซีซี) หรือมีเลือดออกใน ทางเดินอาหารให้รายงานแพทย์ ทราบ 6.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและ อิเลกโทรไลต์ทางเส้นเลือดดำให้ ถูกต้องตามแผนการรักษา 7.ให้ยาวิตามินบีรวมและยาธาตุ เหล็กอย่างครบถ้วน 8. ให้เลือดตามแผนการรักษาและ สังเกตอาการแทรกซ้อนจากการ ให้เลือดอย่างใกล้ชิด
ตรวจดูพบปริมาณ gastric content
Hematocrit 36.5 % Hemoglobin12.0 g/dl RBC3.81 cells/μL
-
กิจกรรมการพยาบาล 1.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง (ชีพจร, อัตราการหายใจ, ความดันโลหิต) 2.ตรวจระดับออกซิเจนในเลือด (SpO2) 3.จัดท่านอนศีรษะสูง เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดี 4.ส่งเสริมให้ผู้ป่วยพักผ่อน ลดกิจกรรมที่ใช้พลังงานสูง 5.นัดติดตามผลตรวจเลือด และติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง