Categories: All

by Nack Phongpanod 6 years ago

695

Knowledge Inquiry (การสืบค้นสารสนเทศและความรู้)

การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมีเทคนิคหลายอย่างเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงใจมากขึ้น หนึ่งในนั้นคือการใช้คำพ้องความหมายด้วยเครื่องหมาย ~ เพื่อหาคำที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำที่ต้องการ อีกเทคนิคหนึ่งคือการใช้คำหลากหลายและไม่เกิน 32 คำเพื่อเพิ่มโอกาสในการได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับสิ่งที่ต้องการ การค้นหาช่วงตัวเลขด้วยเครื่องหมาย .

Knowledge Inquiry (การสืบค้นสารสนเทศและความรู้)

หรือที่เรียกว่า OPAC (Online Public Access Catalog) เป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศซึ่งปรับเปลี่ยนจากรูปแบบบัตรรายการในตู้บัตรรายการมาเป็นระเบียนบรรณานุกรมในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมีชุดคำสั่งการสืบค้นที่ใช้ง่าย สะดวก มีรายการทางเลือกของขั้นตอนการทำงานอยู่หน้าจอ ผู้ใช้เพียงปฏิบัติตามค าสั่งหรือคำแนะนำที่ปรากฎจากนั้นจะสามารถสืบค้นข้อมูลได้บางห้องสมุดได้ออกแบบ OPAC ให้มีลักษณะเป็นกราฟิก(Graphic User Interface-GUI) เพื่อการใช้ที่ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้นส าหรับผู้สืบค้น และสามารถเข้าสืบค้นได้โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต ดังนั้นจึงมักเรียก OPAC ที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ว่า Web Pac

ADJ, NEAR, FAR และ BEFORE ประกอบเป็นประโยคการค้น เพื่อก าหนดลักษณะของผลการสืบค้นที่ต้องการว่าต้องการให้มีคำใด อยู่ในลักษณะใด โดย

4. BEFORE หมายถึงให้ค าค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 คำ โดยต้องอยู่ตามลำดับที่กำหนดเท่านั้น

3. FAR หมายถึง ให้คำค้นอยู่ห่างกันได้ 25 คำ หรือมากกว่านั้น

2. NEAR หมายถึง ให้ค าที่ค้นอยู่ใกล้เคียงกันในระยะ 25 คำ สลับที่ได้

1. ADJ หมายถึง ให้ค าที่ค้นอยู่ใกล้กัน สลับลำดับคำได้

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

เทคนิคตรรกบูลลีน

3. การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus) กำหนดหน้าคำค้นที่ต้องการเครื่องหมาย + หมายถึงในผลการค้นต้องมีค าที่ก าหนดนั้น และเครื่องหมาย –หมายถึงไม่ต้องการให้พบค านั้นในผลการสืบค้น กลไกที่ลักษณะการสืบค้นเช่นนี้ ได้แก่ Excite, Lycos, Altavista, Google เป็นต้น
2. การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการสืบค้นการที่เกี่ยวข้องกับค าค้นอย่างไร เช่น Match all words, match anywords, must contain, must not contain เป็นต้น กลไกที่มีลักษณะการสืบค้นเช่นนี้ ได้แก่ Lycos, Hotbot, Excite เป็นต้น
1. การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น เช่นเดียวกับการสืบค้นในระบบออนไลน์อื่นๆ โดยเครื่องหมาย หรือตัวกระท าของตรรกบูลลีนจะแตกต่างกันไปในแต่ละกลไก บางกลไกสามารถใช้ค าว่า And, Or, Notประกอบในป ระโยคก ารค้นได้โดยต รง บ างกลไกใช้เครื่องหมาย & (ampersan), I (pipe) แ ล ะ ! (exclamation) แทน คำว่า And, Or, Not ตามลำดับเช่นใน Altavista เป็นต้น

เทคนิคการตัดคำ

2. การสืบค้นในลักษณะของ Stemming หมายถึง การสืบค้นจากรากคำ เช่น คำค้นเป็น think กลไกจะสืบค้นค าอื่น ๆ ที่ขึ้นต้นด้วย think เช่น thinking,thinkable เป็นต้น กลไกที่มีลักษณะการสืบค้นเช่นนี้ได้แก่ Hotbot, Infoseek เป็นต้น
1. การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดคำส่วนใหญ่เป็นการตัดท้ายคำค้นที่ต้องการ กลไกที่สามารถใช้เทคนิคการตัดคำได้ เช่น altavista เป็นต้น ส่วน Hotbot สามารถตัดคำได้ 2 ลักษณะคือ * และ ? โดย * หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีรากคำตามที่กำหนดโดยอาจมีตัวอักษรอื่น ๆ

เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง

เทคนิคอื่นๆ

7. ควรใช้คำที่หลากหลายและไม่ควรใช้คำที่ค้นหาเกิน 32 คำ ซึ่งการใช้คำที่หลากหลายเพื่อค้นหาจะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า เนื่องจากการกำหนดคำที่หลากหลายทำให้สามารถหาข้อมูลที่ใกล้เคียงที่สุดได้ เช่น ต้องการหาคำที่มีความหมายเดียวกับยาจีนชื่อ “qigong” หากพิมพ์เพียงคำเดียวอาจทำให้ Search Engine บางตัวไม่สามารถหาผลลัพธ์ที่ต้องการได้ แต่ถ้าพิมพ์ “qigong Chinese medicine internal exercises asthma” จ ะ ท า ให้Search Engine บางตัว เช่น Google สามารถหาผลลัพธ์ได้ใกล้เคียงกว่าการกำหนดเพียงคำเดียว เป็นต้น
6. เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering) เทคนิคนี้จะมีใช้สำหรับ Search Engine บางตัว เช่น Google โดย Google สามารถกรองเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสม หรือรุนแรงได้ โดย Google สามารถกรองตัวอักษร และรูปภาพได้ถึง 3 ระดับ แต่ค่าเริ่มต้นจะกำหนดไว้เพียงการกรองรูปภาพอนาจาร และเกี่ยวกับเพศไม่ให้แสดงบนจอภาพผลลัพธ์จากการค้นหา ถ้าไม่ต้องการให้มีการกรองสิ่งที่ค้นหาให้เลือก “Do not filter my search results” การกรองสิ่งที่ค้นหาไม่สามารถแยกผลลัพธ์ที่ไม่ต้องการออกไปได้ 100 เปอร์เซ็นต์ หากต้องการให้การกรองมีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรใช้ตัวกรองข้อมูลที่สามารถควบคุมการแสดงผลข้อมูลได้ดีกว่า
5. เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของค า (Definition) โดยใช้คำว่า define: ตามด้วยคำที่ต้องการทราบความหมาย
4. เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range) ด้วยเครื่องหมาย .. โดย เทคนิคนี้ใช้เมื่อต้องการค้นข้อมูลที่มีช่วงตัวเลข
3. เทคนิคการค้นกลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย * (Wildcard) โดย เทคนิคนี้สามามารถใช้เครื่องหมาย * แทนค าพูดที่ผู้ค้นไม่แน่ใจในการค้นหาแต่ต้องใช้ภายในเครื่องหมาย “....”
2. เทคนิคการค้นหาคำพ้องความหมาย (Synonyms) ด้วยเครื่องหมาย ~ กล่าวคือ ถ้าใช้เครื่องหมาย ~information ในการค้นหา ผลลัพธ์ในการค้นจะไม่หาคำว่า information เพียงอย่างเดียวแต่จะหาคำที่มีความหมายคล้ายหรือใกล้เคียงกับคำดังกล่าว
1. เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายคำพูด “…..” (Exact phrased search) ซึ่ง ผลลัพธ์ที่ใช้เทคนิคนี้จะเป็นเว็บที่มีคำอยู่ติดกันเท่านั้น

เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น

2. สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลก ากับลงในประโยคการค้น เช่น title:nba หมายถึงให้ค้นเพจที่มีค าว่า nba ปรากฏในชื่อเรื่อง before:30/9/99 หมายถึง ให้สืบค้นเอกสารที่มีการจัดทำก่อนวันที่ 30 ก.ย. 1999 เป็นต้น กลไกที่มีลักษณะการสืบค้นแบบนี้ ได้แก่ Hotbot เป็นต้น
1. สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ซึ่งกลไกสืบค้นหลาย ๆ กลไกกำหนดให้ผู้สืบค้นเลือกเขตข้อมูลที่ต้องการสืบค้นได้จากเมนูทางเลือก โดยให้เลือกได้จากภาษา เขตข้อมูลชื่อ URL ช่วงปีที่ต้องการ Domain ของแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น

Knowledge Inquiry (การสืบค้นสารสนเทศและความรู้)

การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์

ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)
ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)
วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC
4. หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการนั้นๆ หากเป็นหนังสือหรือโสตทัศนวัสดุรายละเอียดที่ได้ประกอบด้วยเลขเรียกหนังสือ
3. หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายละเอียดของรายการดังกล่าว
2. ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก
1. จากหน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู

การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์

การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
5. เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล เพื่อให้ระบบทราบว่าต้องการรายการใดบ้างในพิมพ์ผลออกทางกระดาษ
4. แสดงผลการสืบค้น เมื่อสืบค้นจนได้ปริมาณรายการที่พอเพียงกับความต้องการแล้วสามารถแสดงผลรายการที่สืบค้นได้3 รูปแบบใหญ่

3. การแสดงผลแบบอิสระแสดงผลที่ก าหนดเขตข้อมูลในการแสดงผลด้วยตัวเอง

2. การแสดงผลแบบย่อ แสดงผลเฉพาะรายการทางบรรณานุกรมเท่านั้น

1. การแสดงผลแบบเต็มรูปแบบ แสดงผลทุกเขตข้อมูลที่รายการนั้นมีอยู่

3. ลงมือสืบค้น โดยทั่วไปสามารถสืบค้นได้ 2 วิธีคือการใช้เมนูในการสืบค้น และ การสืบค้นโดยการพิมพ์คำสั่ง การสืบค้นโดยใช้เมนูสามารถท าได้ง่าย ไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูลที่สืบค้นมากนัก
2. ค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม ทั้งนี้ต้องทราบว่าเรื่องที่สืบค้นนั้นเป็นเรื่องในสาขาใด เลือกฐานข้อมูลให้ตรงหรือใกล้เคียงกับสาขาวิชาที่สืบค้น
1. การวิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นคือ ต้องรู้ว่าต้องการข้อมูลในเรื่องใด แล้วจึงกำหนดเรื่องที่ต้องการค้นเป็นคำสำคัญในการสืบค้น

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

เครื่องมือสืบค้น (Search engine)
นามานุกรม (Web Directories)