Categories: All - อุปกรณ์

by Nattarinan Kanyai 7 years ago

554

Sample Mind Map

เมื่อต้องจัดการสารเคมีในห้องปฏิบัติการ ควรให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัย การใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญ เช่น การใช้รถเข็นเมื่อต้องลำเลียงสารเคมีในระยะทางไกล ๆ และการประคองขวดแก้วที่มีน้ำหนัก นอกจากนี้ ควรใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล เช่น เสื้อกาวน์ ถุงมือ หน้ากาก และรองเท้า เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น การจัดเก็บสารเคมีควรทำอย่างถูกต้อง โดยต้องแยกสารไวต่อปฏิกิริยา สารกัดกร่อน และสารไวไฟออกจากกัน และควรมีป้ายเตือนที่ชัดเจนเพื่อป้องกันการใช้ผิดพลาด การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าในห้องปฏิบัติการก็ควรปฏิบัติตามข้อควรระวัง เช่น ไม่เสียบปลั๊กทิ้งไว้ และไม่จับอุปกรณ์ไฟฟ้าขณะมือเปียก เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น การปฏิบัติตามข้อกำหนดเหล่านี้จะช่วยให้การทำงานในห้องปฏิบัติการเป็นไปอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

Sample Mind Map

ข้อควรปฏิบัติเมื่อลำเลียงสารเคมี

ใช้รถเข็นลำเลียงสารเคมี ถ้าต้องลำเลียงไปในระยะทางไกลๆ

สารเคมีขวดแก้วที่มีน้ำหนักต้องประคองที่ด้านล่างของขวดด้วย

การจัดเก็บอุปกรณ์และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ

อุปกรณ์

อุปกรณ์ป้องกันร่างกายส่วนบุคคล
หน้ากากป้องกันฝุ่น และไอระเหย (Respiratory mask)
หน้ากากคลุมหน้า (Face Shield)
แว่นกันสารเคมี (Goggles)
รองเท้า (Shoes)
ถุงมือ (Grove)
ผ้ากันเปื้อน (Protective clothing)
เสื้อกาวน์ (Laboratory Coat)
อุปกรณืที่ติดตั้งเพื่อความปลอดภัย
อุปกรณ์ระงับเหตุเพลิงไหม้ เช่น เครื่องดับเพลิง (Fire extinguisher) และระบบฉีดน้ำ (Sprinkle)
อุปกรณ์เตือนภัยเมื่อเกิดเพลิงไหม้ (Alarm and Sign)
อ่างล้างมือ ล้างอุปกรณ์ (Laboratory Sink)
อ่างล้างตา และที่ล้างตัวฉุกเฉิน (Eyewash and shower)
ตู้ดูดควัน (Fume Hood)
ระบบระบายอากาศ (Ventilation)

ข้อควรปฏิบัติ

ข้อควรปฏิบัติเมื่อใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีอาการไม่ปกติ ต้องหยุดใช้ทันที และติดป้ายแจ้ง
ห้ามจับอุปกรณ์ไฟฟ้า ถ้ามือเปียก
สายไฟชำรุด ต้องพันด้วยฉนวนก่อนใช้งาน
อุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ควรเสียบปลั๊กทิ้งไว้
อุปกรณ์ไฟฟ้าต้องมีมาตรฐานรับรอง
อุปกรณ์ควบคุมกระแสไฟฟ้าตอ้งเข้าถึงได้
ข้อควรปฏิบัติในการเก็บสารเคมี
สารไวต่อปฏิกริิยา

ควรติดป้ายเตือน เช่น “สารไวต่อปฏิกิริยา”, “ห้ามโดนน้ำ”

เก็บแยกจากสารอื่น

สารกัดกร่อน

เก็บในถาดพลาสติกกันรั่วไหล

ห้ามเก็บในที่สูงเกินระดับสายตา

สารไวไฟ

เก็บในห้องปฏิบัติการได้ไม่ควรเกิน 50 ลิตร

เก็บในภาชนะความจุต่ำกว่า 20 ลิตร

เก็บห่างจากแหล่งกำเนิดความร้อน แหล่งกำเนิดไฟ

ข้อควรปฏิบัตเิมื่อใช้สารเคม
ไม่เทน้ำลงสารเคมีกรดเข้มข้น ให้เทกรดลงน้ำ
ไม่ดมกลิ่นสารเคมีโดยตรง ให้ใช้มือพัดไอสารเคมีมาที่จมูก
ไม่จับหรือชิมสารเคมี
อ่านฉลากก่อนใช้
สารเคมีตอ้งมีฉลากชัดเจน
ข้อควรปฏิบัตเิมื่อใช้เครื่องแก้ว
เครื่องแก้วที่ใช้เสร็จแล้ว ควรกลั้วด้วยน้ำก่อนส่งไปล้าง
เครื่องแก้วที่ต้องโดนความร้อน ต้องเป็นเครื่องแก้วทนร้อน
เครื่องแก้วที่แตกง่าย อาจหุ้มด้วยตาข่าย หรือพันด้วยเทป
เครื่องแก้วต้องจัดวางในที่ปลอดภัย ไม่เสี่ยงต่อการตกหรือแตก
เครื่องแก้วควรเก็บในระยะที่หยิบถึง เล็กเก็บด้านบน ใหญ่เก็บด้านล่าง
ข้อควรปฏิบัติทั่วไปในการดูแลห้องปฏิบัติการ
ของเสียสารเคมีแยกเก็บให้ถูกต้องตามระบบ
เก็บสารเคมีเข้าที่ทุกครั้งที่ใช้เสร็จ
เครื่องแก้วแตก ควรทิ้งแยกจากขยะอื่น
เก็บสารเคมีในที่จัดระบบไว้ ไม่วางตามทางเดิน
ควรรักษาความสะอาดพื้นเป็นประจำทุกวัน
ข้อควรปฏิบัติทั่วไปเมื่ออยู่ในห้องปฏิบัติการ
ห้ามทำการทดลองนอกเหนือจากที่กำหนด
ต้องปฏิบตัิตามคำเตือนหรือป้ายเตือนในห้องปฏิบตัิการ
ล้างมือก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ
ไม่วางของใช้ส่วนตัวไว้ในห้องปฏิบัติการ
การทำงานต้องสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย
สามารถใช้อุปกรณ์และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง
ควรสวมเสื้อกาวน์ในห้องปฏิบัติการและถอกเมื่อออกจากห้อง