การสร้างคำในภาษาไทย
คำประสม
โดยนำคำมูล 2คำขึ้นไปมาผสมกัน แล้วเกิดคำใหม่อีกคำหนึ่ง
3. ความหมายให้กระชับ
ยิ้ม + แย้ม = ยิ้มอย่างชื่นบาน
2. ความหมายคงเดิม
หมอ + ดู = ผู้ทำนายดวงชะตา
1. เกิดความหมายใหม่
แม่ + ยาย = แม่ของภรรยา
เป็นคำที่สร้างใหม่
คำสนธิ
โดยมีการเปลี่ยนพยัญชนะ สระ และนิคหิตที่มาเชื่อม
เพื่อการกลมกลืนให้เสียงเป็นธรรมชาติ
มหา + อรรณพ = มหรรณพ
อัคคี + โอภาส = อัคโยภาส
คช + อินทร์ = คชินทร์
เสียงสุดท้ายของคำหน้ารับเสียงสุดท้ายของคำหลัง
เป็นการนำคำบาลี,สันสกฤษ 2 คำขึ้นไปเชื่อมต่อกันเป็นคำเดียวกัร
คำซ้ำ
การนำคำที่มีเสียงและความหมายเหมือนกันมาซ้ำกัน
เพื่อความหมายของคำนั้นแตกต่างไปหลายลักษณะ
ความหมายผิดไปจากเดิม
ความหมายแยกเป็นส่วน
ความหมายเด่นขึ้น
ความหมายคงเดิม
คำมูล
เมื่อแยกพยางค์แล้วไม่มีความหมาย
นาฬิกา
กางเกง
ถนน
เป็นคำๆเดียวมิได้ประสมกับคำอื่นๆ อาจมี 1 พยางค์หรือหลายพลางค์
Subtopic
คำซ้อน
*ซ้อนเพื่อเสียง
คือคำที่มีเสียงคล้องจอง มีความหมายสัมพันธ์กันมารวมกัน เพื่อให้ออกเสียงง่ายและไพเราะ
*ซ้อนเพื่อความหมาย
คือคำซ้อนที่ความหมายเหมือนกัน ใกล้เคียง หรือตรงกันข้ามมารวมกัน
การนำคำสองคำขึ้นไป ที่มีเสียงต่างกัน แต่มีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายกัน
เช่น เล็กน้อย , ใหญ่โต เป็นต้น
คำสมาส
ข้อสังเกตุ !
มักมีคำว่าศาสตร์และกรรม
แปลจากหลังมาหน้า
เป็นภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น
เป็นวิธีสร้างคำในภาษาบาลี, สันสกฤษ โดยนำคำ 2 คำขึ้นไปมาประประกอบกันคล้ายสระผสม
เช่น
สุนทร + พจ = สุนทรพจน์