Categorias: Todos - สถิติ - วิเคราะห์ - วัด - ตัวแปร

por Sittikait Prampree 5 anos atrás

349

Basic of Statistic and Data collection

การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติแบ่งออกเป็นหลายระดับตามประเภทและการวัดผลของตัวแปร ข้อมูลในระดับอันตรภาคสามารถบอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้ในช่วงที่มีความห่างเท่ากัน ขณะที่ข้อมูลในระดับอัตราส่วนสามารถบวก ลบ คูณ หารได้และมีศูนย์แท้ สำหรับข้อมูลที่เรียงอันดับจะจัดอันดับตามวัตถุประสงค์จากสูงสุดไปต่ำสุด ส่วนข้อมูลในระดับนามบัญญัติจะจัดข้อมูลเป็นกลุ่มโดยใช้สถิติง่ายๆ เช่น ความถี่ สัดส่วน และร้อยละ นอกจากนี้ตัวแปรยังแบ่งตามระดับการวัดเป็นตัวแปรอันดับ อัตราส่วน กลุ่ม และช่วง ตัวแปรตามจะเปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น ส่วนตัวแปรควบคุมจะต้องควบคุมเพื่อไม่ให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อน ในการวิเคราะห์หลายตัวแปร จำเป็นต้องทำให้ตัวแปรมีค่ามาตรฐานเพื่อให้การวิเคราะห์มีความถูกต้อง วัตถุประสงค์หลักของการใช้สถิติเพื่อการวิจัยคือการศึกษาความสัมพันธ์และความแตกต่างระหว่างตัวแปรต่างๆ

Basic of Statistic and Data collection

Basic of Statistic and Data collection

Main topic

ตัวแปรคุณภาพสามารถแปลง (Transform) ให้กลายเป็น ตัวแปรเชิงปริมาณได้ในรูปตัวแปรหุ่น (Dummy Variable)
ตัวแปรคุณภาพที่มีระดับการวัดต่ำไม่สามารถ ยกระดับให้สูงเป็นตัวแปรเชิงปริมาณได้
ตัวแประเชิงปริมาณอาจยุบลงเป็านตัวแปรเชิง คุณภาพได้
ตัวแปรที่มีระดับการวัดสูงสามารถลดระดับการวัด ให้ต่ำลงได้

การใช้สถิติการวิเคราะห์สองตัวแปร

ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิง ปริมาณทั้งคู่
ตัวแปรอิสระเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพและตัว แปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ
ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิง คุณภาพ

สถิติพรรณนำสำหรับตัวแปรเชิงคุณภาพ

สถิติพรรณนาที่ควรนำมาใช้กับตัวแปรเชิงปริมาณ เพื่อมาตรฐานใน การรายงานผลการวิจัยมี 4 ตัวคือ ค่าตำสุด (Minimum) ค่าสูงสุด(Maximum) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Derivation)
สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงปริมาณ เช่น ขนาดตัวอย่าง (N) ค่า การผันแปร (Variance) พิสัย (Range) ค่าผิดพลาดมาตรฐานของ ค่าเฉลี่ย (Standard Error of Mean) ค่ามัธยฐาน (Median) ค่าฐานนิยม (Mode) ค่าควอไทล์(Quartiles) ค่าความเบ้ (Skewness) ค่าความสูง (Kurtosis)
ใช้ได้กับข้อมูลประเภทที่มีระดับการวัดแบบช่วง (Interval Scale) และที่มีการวัดแบบอัตราส่วน (Ratio Scale)
ค่าสถิติเชิงพรรณนาที่สำคัญจากการวิเคราะห์สถิติ
อัตราส่วนที่ถูกต้อง (Valid Percent)
อัตราส่วนร้อยปกติ (Percent)
ค่าความถี่(Frequency)
ต้องมีการลงรหัสข้อมูลให้เป็นตัวเลข (Coding) ถ้ารหัสใดไม่ ต้องการวิเคราะห์ให้เป็น Missing Value(s)
ส่วนใหญ่ใช้กับข้อมูลที่เก็บจากแบบสอบถาม

สถิติพรรณนำกับกำรวิจัย

จากกลุ่ม/หน่วยวิเคราะห์ที่เหมาะสมหรือไม่ ทั้งในด้านจำนวนและในด้าน คุณสมบัติ
ช่วยในการตัดสินใจเบื้องต้นว่าการวิจัยได้เก็บข้อมูล
เหมาะสำหรับการรายงานวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
ช่วยสรุปตัวเลขหรือหน่วยจำให้เห็นเป็นรูปธรรม
ช่วยสรุปคุณสมบัติของสิ่งศึกษา (ประชากรหรือกลุ่มหน่วยวิเคราะห์)

หลักกำรเบื้องต้นที่สำคัญของกำรใช้สถิติ

ตีความหมาย
ทำการตีความหมายผลที่ได้จาก การวิเคราะห์ให้เป็นไปตาม หลักการหรือเกณฑ์ที่กำหนด
แปลผลค่าสถิติต่างๆ ได้ถูกต้อง
ทำกำรอ่านผลค่าสถิติ ต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือ ที่วงวิชาการยอมรับ
ทำการเสนอที่ได้รูปแบบ มาตรฐานของแต่ละวิธีการที่ใช้กัน ในวงการวิจัย
หลีกเลี่ยงการเสนอซ้ำซาก
โดยเสนอให้น้อยที่สุดแต่สิ่งที่เสนอต้องสื่อ ความหมายให้ได้มากที่สุดหรือครบถ้วน สมบูรณ์ในตัวของมันเอง

วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของกำรใช้สถิติเพื่อกำรวิจัย

ศึกษำการประมาณค่าหรือการพยากรณ์
ศึกษำความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ศึกษำความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็น เป้ำหมายของกำรศึกษา
พรรณนำคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์

ประเภทของข้อมูล

อัตรำส่วน (Ratio Scale)
ข้อมูลเหล่านี้สามรถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว
ขอมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมีศูนย์แท้
อันตรภำค (Interval Scale)
สถิติที่ใช้ในกำรวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และ สถิตชั้นสูงทุกตัว
เป็นข้อมูลที่บอกถึงควำมแตกต่ำงระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีควำมห่างเท่ากัน ทุกช่วง เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้
เรียงอันดับ (Ordinal Scale)
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
เป็นข้อมูลที่ ใช้จัดอันดับของสิ่งต่ำงๆ โดย เรียงอันดับของข้อมูลตำมวัตถุประสงค์ที่ต้งไว้จากสูงสุดไปหาต่ำสุด
นำมบัญญัติ (Nominal Scale)
จะนำไป บวก ลบ คูณ หำร กันไม่ได้ในทำงสถิติ เพราะ ไม่มีควำมหมำย
ใช้สถิติง่ายๆ ในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นเพียงตัวแทนของชื่อกลุ่มเท่านั้น
เป็นระดับกำรวัดที่หยำบที่สุด จัดข้อมูล หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม

การจัดการขนาดของการวัดในการวิเคราะห์หลายตัวแปร

การทำตัวแปรให้มีค่ามาตรฐาน (Standard Value)
ค่ามาตรฐาน = (ค่าจริง – ค่าเฉลี่ย)/ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เกิดจากหน่วยวัดของตัวแปรอิสระที่แตกต่างกัน ทำให้ไม่สามารถสรุปได้ว่าตัวแปรอิสระตัวใด มีผลมากกว่าตัวแปรใด

การใช้สถิติการวิเคราะห์หลายตัวแปร

ข้อพิจารณาการใช้สถิติหลายตัวแปร
ปัญหาความไม่เป็นเส้นตรง
ปัญหาความสัมพันธ์กันมากระหว่างตัวแปรอิสระ
เงื่อนไขของการแจกแจงแบบปกติ และ ความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง
ขนาดของตัวแปร
ระดับของการวัด

การเสนอผลสถิติพรรณนาในรายงานวิจัย

ไม่ใส่คำที่ไม่ใช่สาระ
หลังตัวเลขกำกับตาราง แล้วไม่ควรมีคำบาง ประเภทที่ไม่ใช่สาระของ ข้อมูล เช่น คำว่า ที่แสดง เปรียบเทียบ
ระบุหมายเลข และชื่อตาราง
ทุกตารางมีหมายเลขและ ชื่อตารางที่บ่งบอกสาระ หรือข้อมูลที่ปรากฏใน ตาราง
เสนอในรูป ตาราง
นิยมเสนอสถิติพรรณนำในรูปตาราง ถ้าเป็นตารางแสดงข้อมูลที่มีหน่วยวัด ก็ต้องระบุหน่วยวัดที่ใช้กับตัวแปรแต่ละ ตัวอย่างชัดเจน

ตัวแปร

ประเภทของตัวแปรตำมระดับของกำรวัด
ตัวแปรอัตราส่วน (Ratio)
ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค (Interval)
ตัวแปรอันดับ (Ordinal)
ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด (Norminal)
ตัวแปรควบคุม
ตัวแปรที่ส่งผลต่อการทดลอง อาจทำให้การทดลองคลาดเคลื่อน จึงต้องควบคุมเอาไว้
ตัวแปรตาม (Dependent Variables)
ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)
ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น หรือผลของตัวแปรต้น

ข้อพิจำรณำกำรใช้สถิติเพื่อกำรวิจัย

รู้กานำเสนอ การอ่าน และการตีความหมายผล
รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ
สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปร อิสระ หรือตัวแปรตาม
รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีกำรวัดระดับใด
ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้

ประเภทของสถิติ

Inferential Statistics
สถิตไร้พำรำมิเตอร์ (Nonparametric Statistics)

สถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น ไคสแควร์, Median Test, Sign test ฯลฯ

เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลง เบื้องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น

สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric Statistics )

การเขียนแสดงค่าใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์

• ประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความ แปรปรวนเท่ากัน ใช้ t-test, Z-test, ANOVA, Regression ฯลฯ

มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ

ข้อมูลระดับช่วงขึ้นไป (Interval Scale)

สถิติว่าด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวม มาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุป ลักษณะบางประการของประชากร โดยมี การนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้

Descriptive Statistics
สถิติเชิงพรรณนา

ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูลนั้น มีอยู่สองลักษณะ

การใช้แผนภาพ

การใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข

ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร แต่อย่างใด

การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่