por chayuda Ngampradit 5 anos atrás
224
Mais informações
ความรู้คือความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องโดยตรงระหว่างความเข้าใจ
ความรู้คือสิ่งที่พิสูจน์ให้เห็น ว่าเป็นการเพิ่มขีดความสามารถที่จะน ามาซึ่งประสิทธิภาพที่ดีกว่า
ข้อเท็จจริงและ/หรือสารสนเทศทั้งใน ด้านวิทยาศาสตร์
สิ่งที่ได้มาโดยการศึกษา ประสบการณ์ ทักษะอาจเกิดจากการค้นหา
การไหลเวียนของความรู้สึกปฏิกริยาตอบกลับ การตัดสินใจสารสนเทศและกระบวนการเรียนรู้
ส่วนผสมที่เกิดจากประสบการณ์การท างาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม
การตัดสินหรือวินิจฉัย (Judgment)
คนเราใช้ความรู้เป็นเครื่องตัดสินสถานการณ์ใหม่โดยการ เปรียบเทียบกับความรู้ที่มีอยู่แล้ว
สามัญส านึก (Common sense)
คนมีความรู้จะมี ความสามารถใช้สามัญส านึกในการตัดสินใจ
คุณค่าและความเชื่อ (Value & Belief)
เป็นส่วนประกอบที่แฝงอยู่ในความรู้จนเป็นเนื้อเดียวกัน
ความซับซ้อน (Complexity)
คนมีความรู้จะมีความเข้าใจความซับซ้อน
ความเป็นจริง (Truth)
ความรู้ต้องเชื่อมโยงกับความเป็นจริง
ประสบการณ์ (Experience)
ทั้งตัวความรู้เองและเป็นบ่อเกิดแห่งความร
ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา
งสามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งการมองเห็น ได้ กลิ่น ได้ยิน และได้ลิ้มรส
ความรู้ด้านภาษา
อ่านและเขียนหนังสือได้ ฟังเข้าใจ
ความรู้ด้านวิชาการ
ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน
ความรู้ใหม่
ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน
เน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได
ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว
ความรู้ที่สามารถรวบรวมถ่ายทอดได้
รายงาน
ทฤษฎ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ฐานข้อมูล
เน้นไปที่การจัดเวทีเพื่อให้มีการแบ่งปันความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ปฏิบัต
e ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น
ความรู้ที่สามารถอธิบายได้และไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นค าพูดหรือลายลักษณ์ อักษรได้โดยง่าย
ความรู้ที่ได้จากประสบการณ
Orna (1998)
การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อการสื่อสารไป ยังบุคคลอื่นทั้งในรูปแบบโสตวัสดุและทัศนวัสดุ
Turban (2006)
ข้อมูลที่ผ่านการจัดการและตีความหมายแล้วมี คุณค่าต่อผู้รับเพื่อการนนำไปใช้งาน
คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา(2544)
แก่นหรือเนื้อหาที่สำคัญซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้ ทราบ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2549)
ตีความแล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553)
ข้อมูลที่มีคุณค่าและคุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจำนวนและคุณภาพ
ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน
ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549)
ข้อมูลเสียง Voice data
เสียงต่างๆ
เสียงที่บันทึกไว้ฟัง
เสียสั่งงานคอมพิวเตอร์
ข้อมูลภาพลักษณ์ Image Data
ถ่ายจากกล้องดิจิทัล
ภาพใบหน้าของพนักงานแต่ละคนในบริษัท
ข้อมูลกราฟฟิก graphical Data
สร้างภาพกราฟฟิก
ภาพอาคาร
ภาพเก้าอี้
ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลเป็นข้อความ Text Data
ไม่สามารถคำนวนได้
ชื่อบริษัท
ชื่อคน
ข้อมูลเชิงตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนาวน Numeric Data
สามารถบ บวก ลบ คูณ หาร
ราคาสินค้า
วิจารณ์ พานิช (2546)
ข้อมูลเชิงปริมาณ
เหตุการณ์หนึ่ง
ข้อมูลเชิงบรรยาย
พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547)
ข้อมูลดิบระดับปฎิบัติการ
Ackoff (1989)
สัญลักษณ์ที่ยังไม่แปรความ
น าความรู้ที่ได้ไปหมุนเวียนต่อไป อย่างต่อเนื่อง
การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การน าความรู้ไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ
ท าเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ และนวัตกรรม
ท าเป็นเอกสาร ฐานความรู้ และเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ
การประเมิณความถูกต้องของความรู็
การกระจายความรู้
การตีค่าความรู้
สาเหตุหลักฐานถูกต้องแต่ไม่นำมาใช้
ไม่จำเป็น
ไม่สร้างความยุติธรรม
ปฏิบัติจริงได้ยาก
ขัดกกับความคิด ความเชื่อ วัฒนธรรม
ความไม่คุ้มค่า
การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้
การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ