Report Writing
การเขียนรายงานทางวิชาการ
การเขียนรายงานทางวิชาการมีโครงสร้างที่ชัดเจนและองค์ประกอบหลายส่วน รายงานเริ่มต้นด้วยหน้าปกในและหน้าปก ซึ่งระบุชื่อรายงาน ชื่อผู้จัดทำ และสถาบันการศึกษา เนื้อหาของรายงานควรมีหัวข้อที่ชัดเจน มีการอธิบายความหมายและโครงสร้าง มีบทสรุปที่ครอบคลุม และตรวจสอบคำผิดและรูปแบบอักษร ส่วนประกอบเพิ่มเติมอาจรวมถึงคำนำที่ระบุขอบเขตและวัตถุประสงค์ของรายงาน บรรณานุกรมที่รวบรวมแหล่งอ้างอิง และกิตติกรรมประกาศเพื่อขอบคุณผู้สนับสนุน รายงานวิชาการมีหลายประเภท รวมถึงรายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ และภาคนิพนธ์ ซึ่งแต่ละประเภทมีความมุ่งหมายและวิธีการศึกษาแตกต่างกัน การทำรายงานต้องผ่านขั้นตอนการกำหนดชื่อเรื่อง วางโครงเรื่อง คิดคำสำคัญ เลือกแหล่งสารสนเทศ สืบค้น ประเมิน วิเคราะห์ และเรียบเรียงเพื่อให้รายงานมีความสมบูรณ์และน่าเชื่อถือ
Report Writing
การเขียนรายงานทางวิชาการ
ส่วนประกอบ
ปกหลัง
ใบรองปกหลัง
ภาคผนวก
ไม่จำเป็นต้องมีในรายงานทุกฉบับ ส่วนใหญ่จะ
แนบตัวอย่างต่างๆที่เกี่ยวกับรายงาน
บรรณานุกรม
- เป็นรายชื่อเอกสารที่นำมาเขียนรายงานทั้งหมด ซึ่งอาจมา
จากบทความ หนังสือ ฐานข้อมูล และอินเทอร์เน็ต
- เรียงตามตัวอักษร ก-ฮ และ A-Z
ตรวจสอบคำผิด ขนาดและรูปแบบอักษร
แบ่งย่อหน้าให้เหมาะสม
การขึ้นหัวข้อใหม่ ควรทำให้ชัดเจน
แต่ละบทควรมีโครงเรื่องและลำดับหัวข้อที่ชัดเจน
บทสรุป
เรื่องที่นำมาประยุกต์ใช้
โครงสร้าง
องค์ประกอบ
ประวัติความเป็นมา
ความหมาย หรือนิยาม
สารบัญ
ตาราง
ภาพ
เนื้อหา
กิตติกรรมประกาศ
เป็นหน้าที่ใช้กล่าวขอบคุณผู้สนับสนุน ผู้ให้ข้อมูล
*ส่วนใหญ่พบในรายงาน วิจัย วิทยานิพนธ์
คำนำ
- บอกขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการจัดทำ
- บอกเนื้อหาคร่าวๆ
- ส่วนใหญ่มี 2 ย่อหน้า
- ตอนท้ายจะลงชื่อผู้จัดทำ
หน้าปกใน
ใบรองปก
หน้าปก
ปีการศึกษาที่ทำ
ชื่อสถาบันการศึกษา
ชื่อสำนักวิชา
ชื่อวิชา
ชื่อ-นามสกุลและเลขรหัส
ชื่อของรายงาน
ขั้นตอนการทำรายงาน
กำหนดชื่อเรื่อง > วางโครงเรื่อง > คิดคำสำคัญ > เลือกแหล่งสารสนเทศ
> สืบค้นสารสนเทศ > ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์ > เรียบเรียงและ
นำเสนอ
ขั้นตอนการเขียนรายงาน
- เลือกและกำหนดหัวข้อ
- อ่านเนื้อเพิ่มเติม+กำหนดวัตถุประสงค์
- จัดทำเค้าโครงรายงาน
- รวบรวมบรรณานุกรม
- อ่านและจดบันทึก
- การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ
- จัดทำโครงเรื่องครั้งสุดท้าย
- เรียบเรียงรายงาน
- เขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
- เขียนรายงานฉบับสมบูรณ์
ประโยชน์
เพิ่มทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ
ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะใน
การแก้ไขปัญหา
ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง
ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ
ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ๆ
ประเภทรายงาน
Research รายงานวิจัย
เป็นการรายงานผลของการวิจัยของอาจารย์ นักวิชาการ
นักวิชาการ การศึกษาค้นคว้าเป็นแบบเดียวกับวิทยานิพนธ์
Thesis/Dissertation วิทยานิพนธ์
เป็นรายงานผลของการวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ
การศึกษาของนักศึกษาปริญญามหาบัณฑิต
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
Term paper ภาคนิพนธ์
ใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา
มีรายเอียดลึกซึ้งมากกว่า
มีลักษณะแบบเดียวกับรายงาน
Reports รายงานวิชาการ
ทำเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล
เลือกหัวข้อที่สนใจหรือให้ผู้สอนกำหนด
ศึกษาเพิ่มเติม เพื่อเสริมเนื้อหาที่เรียน
ศึกษาค้นคว้าและนำมาเรียบเรียง
การเขียนรายงานทางวิชาการ
สิ่งพิมพ์ที่เรียบเรียงอย่างมีระเบียบ จากการศึกษาค้นคว้า การทดลอง การสังเกตการณ์ การสำรวจ
การสัมภาษณ์ เป็นต้น