Categories: All - เงินได้ - ภาษี

by Piyathida na-nakorn 5 years ago

1597

บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามีหลายประเภทขึ้นอยู่กับแหล่งที่มาของรายได้ เช่น รายได้จากการจ้างแรงงาน วิชาชีพอิสระ การลงทุน และการให้เช่าทรัพย์สิน การกำหนดประเภทของรายได้ส่งผลต่อการคำนวณภาษีและการหักค่าใช้จ่ายที่อนุญาต นอกจากนี้ยังมีการยกเว้นภาษีสำหรับบุคคลและองค์กรบางกลุ่มตามข้อกำหนดของกฎหมายและสัญญาระหว่างประเทศ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็นหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตามเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ การจัดเก็บภาษีอย่างเป็นธรรมช่วยให้เกิดการแบ่งปันภาระภาษีอย่างเท่าเทียม ทั้งนี้ การทำความเข้าใจประเภทของรายได้และสิทธิการยกเว้นภาษีจะช่วยให้ผู้เสียภาษีสามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

บทที่ 2
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

บุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษี

7 บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติอเมริกันซึ่งเป็นลูกจ้างหรือพนักงานของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของสหรัฐอเมริกา
6 เงินได้ที่ผู้ว่าการ
5 ยกเว้นให้บุคคลตามที่กําหนดไว้ในความตกลงระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต
4 บุคคลที่อยู่ในประเทสที่มีอนุสัญญาว่าด้วยการเว้นการเก็บภาษีซ้อนที่รัฐบาลไทยได้ทําไว้หรือจะได้ทํากับรัฐบาลต่างประเทศ
3 สถานเอกอัครราชทูต
2 องค์การสหประชาชาติ
1 บุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ตามสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

5. วิสาหกิจชุมชน
4. ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
3. กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
2. ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปี
1. บุคคลธรรมดา

ประเภทเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (มาตรา 40(8)) ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การเกษตร
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 (มาตรา 40(7)) ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้อง ลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6 (มาตรา 40(6)) ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือ วิชากฎหมาย วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 (มาตรา 40(5)) ได้แก่ เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน เงินหรือ ประโยชน์อย่างอื่นที่ได้
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 (มาตรา 40(4))
6. มาตรา 40(4)(ฉ) ผลประโยชน์ที่จากการโอนการเป็นหุ้นส่วนหรือโอนหุ้น
5. มาตรา 40(4)(จ) เงินเพิ่มทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งตัด้มาหรือรับช่วงกันไว้รวมกัน
4. มาตรา 40(4)(ง) เงินลดทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเฉพาะส่วนที่จ่ายไม่เกินกว่ากําไร และเงินที่กันไว้รวมกัน
3. มาตรา 40(4)(ค) เงินปันผลที่จ่ายแก่ผู้ถือหุ้น
2. 40(4)(ข) เงินปันผล
1. 40(4)(ก) ดอกเบี ้ยพันธบัตร
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3(มาตรา 40(3)) ได้แก่ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์หรือสิทธิอย่างอื่น
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 (มาตรา 40(2) ได้แก่ เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตําแหน่งงาน ที่ทํา
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40(1) ได้แก่ เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน

ฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา = ฐานภาษี x อัตราภาษี (เงินได้สุทธิ) เงินได้สุทธิ = เงินได้พึงประเมิน – ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน

เงินได้พึงประเมิน

5. เครดิตภาษีเงินปันผล คือ เครดิตภาษีเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งกําไรที่ได้รับจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
4. เงินค่าภาษีอากรที่ผ้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้ การว่าจ้างบุคคลบางครั้งอาจให้สิทธิพิเศษ
3. ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน หมายถึง สิ่งที่ได้รับมากไม่ใช่เงินหรือทรัพย์สินแต่เป็นประโยชน์ที่ได้รับซึ่งสามารถนํามาคํานวณได้เป็นตัวเงิน
2. ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน หมายถึง ทรัพย์สินหรือสิ่งที่ได้รับและสามารถคิด คํานวณได้เป็นเงินในระหว่างปีภาษีนั ้น
1. เงิน หมายถึง เงินตราไทย หรือเงินตราต่างประเทศ หรือตราสารที่มีค่าเสมือนเงินสด

เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี

4. การยกเว้นตามกฎหมายอื่น
3. การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกา
2. การยกเว้นตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 126
1. การยกเว้นตามมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฎากร

แหล่งเงินได้

2. เงินได้จากแหล่งนอกประเทศ
2.3 ทรัพย์สินที่อย่ในต่างประเทศ
2.2 กิจการที่ทําในต่างประเทศ
2.1 หน้าที่งานที่ทําในต่างประเทศ
1. เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ
1.4 ทรัพย์สินที่อย่ในประเทศไทย
1.3 กิจการของนายจ้างในประเทศไทย
1.2 กิจการที่ทําในประเทศไทย
1.1 หน้าที่งานที่ทําในประเทศไทย