Categories: All - จรรยาบรรณ - ความรู้ - ประโยชน์

by Sararit Meephol 5 years ago

353

สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย

การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ที่มีเป้าหมายในการค้นหาความรู้และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างมีระบบและปราศจากอคติ นักวิจัยต้องมีความรู้พื้นฐานที่เพียงพอในสาขาวิชาที่ทำการวิจัยและต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิมนุษย์ของผู้ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย ความซื่อสัตย์และคุณธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่นักวิจัยต้องปฏิบัติตามในการทำงาน นอกจากนี้ นักวิจัยควรมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัยและควรนำผลงานวิจัยไปใช้ในทางที่ชอบและเป็นประโยชน์ การวิจัยต้องมีความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นในกระบวนการและผลลัพธ์ และต้องอาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อสนับสนุนความถูกต้องและเชื่อถือได้ นักวิจัยยังต้องมีอิสระทางความคิดและมีวิธีการที่หลากหลายในการดำเนินการวิจัยเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพและสามารถตรวจสอบได้

สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย

สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย

Use this mind map structure to discover unseen connections, generate new ideas and reach a better understanding of any given subject.

ธรรมชาติของการวิจัย

5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย หมายถึง การวิจัยที่มีประสิทธิภาพจะต้องด าเนินการ โดยที่ผู้วิจัยที่มีความรู้ความสามารถ
5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย หมายถึง การวิจัยจะมีวิธีการในการด าเนินการวิจัยที่ให้ผู้วิจัยได้เลือกใช้อย่างหลายหลายวิธี
5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ หมายถึง การวิจัยในแต่ละครั้งจะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น ๆ
5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่จะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา(ตัวแปรตาม)
5.6 การวิจัยมีเหตุผล หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่จะต้องมีเหตุผลที่ชัดเจนใน การดำเนินการทุกขั้นตอนเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้อง
5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึง การวิจัยต้องมีความคงเส้นคงวาในการดำเนินการวิจัย
5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง การวิจัย ใด ๆ จำเป็นต้องมีความเที่ยงตรงใน 2 ลักษณะ ได้แก่ ความเที่ยงตรงภายใน
ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมีความชัดเจนที่สามารถตรวจสอบได
5.2 การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการตามขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่มีจุดมุ่งหมายใน 4 ลักษณะ คือ บรรยาย อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ หมายถึง การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาค าตอบที่

ประเภทของการวิจัย

In the conclusion you should have a brief summary of your key points.

6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัยจำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ
6.5.2 การวิจัยแบบต่อเนื่อง (Longitudinal Research)
6.5.1 การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น(Cross-section Research)
6.6 จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย จำแนกเป็น 3 ลักษณะ
6.6.3 การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร(Causal-Oriented Research)
6.6.2 การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร(Correlation-Oriented Research)
6.6.1 การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร(Descriptive-Oriented Research)
6.7 ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดกระทำจำแนกเป็น 3 ลักษณะ
6.7.3 การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง(True Experimental Research)
6.7.2 การวิจัยกึ่งทดลอง(Quasi Experimental Research)
6.7.1 การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น(Pre Experimental Research)
6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์ จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ
6.4.2 การวิจัยทางสังคมศาสตร์(Social Research)
6.4.1 การวิจัยทางวิทยาศาสตร์(Scientific Research)
6.3 จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology) จ าแนกได้2 ลักษณะ
6.3.2 การวิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research)จำแนกเป็นประเภทย่อย ๆ 3 ลักษณะ

6.3.2.3 การศึกษาพัฒนาการ(Developmental Studies)

2) การศึกษาแนวโน้ม(Trend Studies)

1) การศึกษาความเจริญงอกงาม(Growth Studies)

6.3.2.2 การศึกษาความสัมพันธ์ (Interrelationship Studies)

6.3.2.1 การวิจัยเชิงส ารวจ(Survey Research)

6.3.1การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์(Historical Research)
6.2 จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล จ าแนกออกเป็น 2 ลักษณะ
6.2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research)
6.2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research)
6.1 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย จ าแนกออกเป็น 2 ลักษณะ
6.1.2 การวิจัยการน าไปใช้(Applied Research)
6.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์(Basic Research or Pure Research)

คุณลักษณะของการวิจัย

4.11 การวิจัย จะต้องมีการจดบันทึกข้อมูล และจัดท ารายงานการวิจัยด้วยความระมัดระวังในการใช้คำที่มีความหมาย
4.10 การวิจัย เป็นกิจกรรมที่จะต้องด าเนินการด้วยความอดทน ไม่เร่งรีบ และจะต้องยอมรับ/เผชิญอุปสรรคในวิธีการได้มาของค าตอบในการวิจัย
4.9 งานวิจัย จะต้องเป็นการด าเนินการแสวงหาค าตอบที่น ามาใช้ตอบค าถามของปัญหาที่ ยังไม่สามารถแก้ไขได้
4.8 การวิจัย จะต้องก าหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถทดสอบได้และวิธีการที่เหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นจริง มีเหตุผล
4.7 การวิจัย จะต้องเป็นการด าเนินการโดยใช้ความรู้ความช านาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้ปัญหาที่ตนเองจะท าวิจัย และปัญหาดังกล่าวมีบุคคลใดประเด็นใดที่ได้ทำวิจัยไปแล้วบ้าง
4.6 การวิจัยจะต้องมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย และการวิเคราะห์ที่ถูกต้อง ชัดเจน ที่จะทำให้ได้ข้อสรุปการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ
4.5 การวิจัย เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในการตอบค าถามตามจุดประสงค์ใหม่ ไม่ใช่เป็นการจัดระบบใหม่ (Reorganizing)
4.4 การวิจัยจ าเป็นจะต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน
4.3 การวิจัย มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จากการสังเกตหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical)
4.2 การวิจัย เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถน าไปใช้อ้างอิงหรือคาดการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
4.1 การวิจัย เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย ที่เป็นการค้นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล

จรรยาบรรณของนักวิจัย

7) นักวิจัยพึงน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
6) นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด
5) นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
4) นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย
3) นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ท าวิจัย
2) นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการท างานวิจัย
1) นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ

ตัวแปรและสมมติฐาน

7. ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
7.9 มีอำนาจในการพยากรณ์
7.8 มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป
7.7 สามารถตรวจสอบได้ มีข้อมูลหรือหลักฐานที่จะน ามาสนับสนุน
7.6 เขียนด้วยถ้อยค าที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจนภายในตัวของมันเอง
7.5 ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้ที่ได้จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
7.4 สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง
7.3 ตอบค าถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว
7.2 อธิบายหรือตอบค าถามได้ ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน
7.1 สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
6. แหล่งที่มาของสมมติฐาน
6.5 การสังเกตพฤติกรรม สังเกตความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ
6.4 การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่น ๆ
6.3 ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย ที่ได้ท างานคลุกคลีกับเรื่องนั้นมาก่อน
6.2 การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ
6.1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
5. ประเภทของสมมติฐาน
5.1 สมมติฐานทางวิจัย (research hypothesis)

2) สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional hypothesis)

1) สมมติฐานแบบมีทิศทาง (directional hypothesis)

4. สมมติฐาน
4.1 ลักษณะของสมมติฐาน

2) สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิต

1) เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป

3. การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
3.2 การนิยามตัวแปร

2) นิยามในลักษณะปฏิบัติการ (Operational definition)

1) การนิยามในลักษณะของการบอกองค์ประกอบ (Constitutive definition)

3.1 การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ปัญหาการวิจัยนั้น มักเป็นปัญหาที่ประกอบด้วยตัวแปรต่างๆสิ่งที่จะช่วยให้ผู้วิจัย
2. ลักษณะและชนิดของตัวแปร
2.2 ชนิดของตัวแปร ตัวแปรทั้ง 2 ลักษณะที่กล่าวมาน

4) ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable)

3) แปรแทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่าตัวแปรเกิน (extraneous variable)

2) ตัวแปรตาม (dependent variable)

1) ตัวแปรอิสระ (independent variable)

2.1 ลักษณะของตัวแปร

2) ตัวแปรนามธรรม (Construct)

1) ตัวแปรรูปธรรม (Concept)

1. ความหมายของตัวแปร
ตัวแปร (variables) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ(Probabilistic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าในปรากฏการณ์ ใด ๆ นั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาต
3.4 กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ(Principle Component of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว
3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ(Associative Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ในการเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกัน
3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ(Systematic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน
3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ(Deterministic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

The key points are the arguments which will support your thesis. These can be agreeing arguments or disagreeing arguments too, in each case they need to reflect on the main idea.

2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล โดยที่ปัญหาในบางปัญหาไม่สามารถท าการวิจัยได้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้
2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หรือเป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อที่น าผลสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากร
2.1 เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาค าตอบเพื่อน ามาใช้แก้ปัญหา โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีความเป็นเหตุและเป็นผลซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน

คำจำกัดความ

การวิจัย เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยน ามาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง เพื่อน าไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏี หรือนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่าง ถูกต้อง แม่นยำและเชื่อถือได้

In the introduction you should state the ideas what you want to defend along the essay.